Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ - Coggle Diagram
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่1 (2504-250
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุขได้แก่โรงพยาบาลและสถานีอนามัย
มีการก่อสร้างโรงพยาบาล ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายแห่ง แต่ยังไม่เน้นหนักในส่วนภูมิภาค
งานด้านอนามัย ปราบปรามและควบคุมโรคติดต่อนั้นได้ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่ 2 (2510-2514)
เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท
เร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์และการสาธารณสุข
มีการ บังคับนักศึกษาแพทย์ให้ทำสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนเป็นครั้งแรกในพ.ศ. 2508
ผลการดำเนินงานพบว่าการผลิตแพทย์และพยาบาลยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
แผนการพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 3 (2515-2519)
เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากยิ่งขึ้นกำหนดนโยบายประชากรเป็นครั้งแรก
มุ่งเน้นการอนามัยแม่และเด็กการวางแผนครอบครัวการควบคุมโรคติดต่อ
มีนโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรกพ.ศ. 2518
แผนการพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 4 (2520-2524)
มุ่งเน้นการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข
ให้บริการสาธารณะสุขแบบผสมผสานแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง
เริ่มตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐานในพ.ศ. 2522
โรคติดต่อบางอย่างลดลงจนไม่เป็นปัญหาเช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ
มีโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคขั้นพื้นฐานเป็นครั้งแรกในพ.ศ. 2521 มีการอบรมผสส. / อสม. ครั้งแรกในพ.ศ. 2520
แผนการพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
เน้นการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมส่งออก
การจัดตั้งโรงพยาบาลระดับอำเภอให้ครบทุกอำเภอ รวมทั้งยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์ให้เป็นสถานีอนามัยทั้งหมด
การตั้งเป้าหมายทางสังคมระยะยาว (20 ปี) "สุขภาพดีถ้วหน้า2543"
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่ 6 (2530-2534)
ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ครบตามเป้าหมายการยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา
รณรงค์ควบคุมโรคเอดส์เพื่อไม่ให้กระทบต่อความมั่นคงของชาติข
เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
ให้ความสำคัญกับปัญหาสาธารณสุขใหม่คือเอดส์ อุบัติเหตุ หัวใจ มะเร็ง สุขภาพจิต
แผนการพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 7 (2535-2539)
การพัฒนาสถานีอนามัยให้เป็นจุดเชื่อมของงานสุขภาพดีถ้วนหน้า
การพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพมาตรฐานเน้นความพยายามในการสร้างหลัประกันด้านสุขภาพแก่คนไทยทุกคน
สร้างภูมิคุ้มกันโรคติดต่อโดยเฉพาะการให้วัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุตำ่กว่า 1ปี ครอบคลุมเพิ่มขึ้น
แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่ 8(2540-2544)
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เน้นเรื่องความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพให้บริการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านสุขภาพ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 9 (2545-2549)
เน้นสุขภาพคือสุขภาพวะ
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ
วิสัยทัศน "คนในสังคมไทยทุกคน มีหลักประกันที่จะดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาพวะ และเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาครวมทั้งอยู่ในครอบครัวชุมชนและสังคมที่มีความพอเพียงทางสุขภาพ มีศักยภาพมีการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพโดยสามารถใช้ประโยชน์ทั้งจากภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน"
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555-2559)
หลักการมุ่งพัฒนาภายใต้หลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์ : "ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียงเป็นธรรมน าสู่สังคมสุขภาพวะปลุก"
พันธกิจ : พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาลสร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาไทย
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10 (2550-2554)
นำปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพและยึดหลักการสุขภาพดี
วิสัยทัศน์ : มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้สุขภาพดีบริการดีสังคมดีชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง
พันธกิจ : สร้างเอกภาพทางความคิดสร้างจิตรสำนึก สุขภาพใหม่สร้างระบบจัดการที่โปร่งใส สร้างกลไกการมี
ส่วนร่วมในการพัฒนา
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564)
อยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี
วิสัยทัศน์: ระบบสุขภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดีสร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
พันธกิจ: เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้ง ภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็ง รองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
เป้าประสงค์ (Goals)
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มี ความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การ เจ็บป่วยและตายจากโรคที่ปูองกันได้ลดลง
คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดีลดการตายก่อนวัยอันควร
เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ ได้อย่างสะดวก เหมาะสม
มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1: เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 2: สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3: พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ