Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Prolapsed of umbilical cord. - Coggle Diagram
Prolapsed of umbilical cord.
ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆส่วนนำหรืออยู่ต่ำกว่า ส่วนนำของทารก โดยถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือยังไม่แตกก็ได้
ชนิด
Forelying prolapsed cord หรือ cord presentation หรือ funic presentation
Complete prolapsed cord
Occult prolapsed cord
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ส่วนนำไม่กระชับกับส่วนล่างของช่องเชิงกราน
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (malpresentation)
ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ
ครรภ์แฝด (multiple pregnancy)
ครรภ์แฝดน้ำ(polyhydramnios)
ทารกมีรูปร่างปกติ (fetal abnormalities)
Internal podalic version
ARM ก่อนที่ส่วนนำทารกจะเข้าสู่ช่องเชิงกราน
รกเกาะต่ำ
สายสะดือยาวผิดปกติ
ครรภ์หลังโดยเฉพาะ grandmultipara
ผลเสีย
ท่ารก
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้องและรวดเร็ว อาจทำให้ทารกเสียชีวิตได้
มารดา
อาจจะเกิดผลเสียทางด้านจิตใจถ้าทารกในครรภ์เสียชีวิต
หากสายสะดือเคลื่อนออกมาอยู่ภายนอกช่องคลอดเป็นเวลานานอาจเกิดการติดเชื้อในมารดาภายหลังคลอดได้
อาจได้รับอันตรายจากสูติศาสตร์หัตถการ
อาการและอาการแสดง
พบFHS ผิดปกติจะมีการเปลี่ยนแปลงของ FHS 2 รูปแบบ คือ bradycardia และ variable deceleration
พบขี้เทาปนน้ำคร่ำ(fetal distress)
อาจ PV พบสายสะดือหรือไม่ก็ได้
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจท่าของทารกในครรภ์
ตรวจสอบการ engage
ประเมิน FHS
การตรวจทางช่องคลอด : PV พบสายสะดือจะสามารถวินิจฉัยภาวะสายสะดือพลัดต่ำได้ทันที
-รายที่ MI จะคลำได้สายสะดืออยู่หลังถุงน้ำคร่ำ
-รายที่ MR จะสามารถคลำได้สายสะดือย้อยผ่านปากมดลูกหรือปากช่องคลอดออกมาได้
-กรณีที่คลำไม่พบสายสะดือจะสามารถประเมินได้จาก FHS
การตรวจพิเศษ
U/Sโดยเฉพาะในรายที่ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ สงสัยว่าจะมีภาวะ occultprolapsed หรือ forelying prolapsed cord
การซักประวัติ
เมื่อถุงน้ำคร่ำแตกผู้คลอดรู้สึกว่ามีสิ่งผิดปกติภายในช่องคลอด
ประวัติน้ำเดินและสิ่งผิดปกติที่ออกทางช่องคลอด
การรักษา
กรณีที่ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่ : พิจารณาทำคลอดทารกอย่างเร็วที่สุด
ปากมดลูกเปิดไม่หมด C/S จะเป็นวิธีการทำคลอดที่ดีที่สุด
ใช้ F/Eช่วยคลอดถ้าปากมดลูกเปิดหมด และศีรษะทารกอยู่ต่ำพอสมควร และไม่มีภาวะ CPD
ใช้V/Eช่วยคลอดในผู้คลอดที่เป็นครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดเกือบหมดและไม่มีภาวะCPDวิธีนี้ เหมาะสมสำหรับกรณีที่ OR ไม่พร้อม
กรณีที่ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่ :ลดการกดทับของสายสะดือ
-จัดท่า Trendelenburg’s position , Elevate Sim’s position,Knee chest position
PV ดันส่วนนำทารกไว้ไม่ให้เคลื่อนต่ำมากดสายสะดือ
ทำ Bladderให้โป่งตึงโดยการใส่น้ำเกลือ 500-700ml.
หากได้รับกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ควรหยุดให้ยา และอาจให้ยา tocolytic เพื่อระงับการหดรัดตัวของมดลูก
กรณีที่ทารกในครรภ์เสียชีวิต
หากมีการคลอดล่าช้า ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
หากมีภาวะ CPD อาจจะต้องทำสูติศาสตร์หัตถการทำลายเด็ก หรือ C/S
ไม่มีภาวะ CPD ปล่อยให้การคลอดดำเนินต่อไปตามปกติ
หลักการพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
การป้องกันการเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
PV เพื่อประเมินการพลัดต่ำของสายสะดือ
ภายหลังจาก MR ดูแลให้นอนพักบนเตียงประเมิน UC และ FHS เป็นระยะๆ
ฟัง FHS ทันทีที่ถุงน้ำแตก
ช่วยเหลือแพทย์ในการทำ ARM อย่างถูกวิธีและภายหลังจาก ARM ควรฟัง FHS ทันที
แนะนำให้รีบมารพ.ทันทีที่พบว่า MR อย่าลืมสังเกตการดิ้นของทารก
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
ให้ออกซิเจน 8-10 ลิตรต่อนาทีแก่ผู้คลอด
ประเมินและบันทึก FHS อย่างต่อเนื่องทุก 5 นาที
PV ดันส่วนนำทารกไว้ไม่ให้เคลื่อนต่ำลงมากดสายสะดือโดยดันในขณะที่มดลูกคลายตัว
หากสายสะดือย้อยออกนอกช่องคลอด ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นคลุมไว้ และห้ามใช้มือดันกลับเข้าไป เพราะการสัมผัสจะทำให้ umbilical artery spasm ลดการไหลเวียนเลือดไปสู่ทารกและรกได้
จัดท่าป้องกันไม่ให้ส่วนนำของทารกมากดกับสายสะดือ
ดูแลให้ได้รับยา Tocolytic ตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
เตรียมอุปกรณ์การช่วยฟื้นคืนชีพทารก พร้อมทั้งรายงานกุมารแพทย์
เตรียมผู้คลอดทั้งร่างกายสำหรับการช่วยคลอดโดยใช้สูตศาสตร์หัตถการ ดังนี้
NPO
ดูแลให้ได้รับ IV ตามแผนการรักษา
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้นและขั้นตอนการรักษาพยาบาล
ปลอบโยนและให้กำลังใจ กรณีที่สูญเสียบุตร