Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายตามระบบ, อ้างอิง
รองศาสตราจารย์ เพ็ญจันท์ ส.โมไนยพงศ์…
การตรวจร่างกายตามระบบ
8.)ตรวจทรวงอกและปอด
ดู
- ลักษณะผิวหนังทรวงอก มีผื่น แผล
-
-
คลำ
-
Thoracic expansion(คลําดูการเคลื่อนไหว ของทรวงอกและปอดทั้งสองข้าง) ขณะที่หายใจ เข้า -ออก โดยผู้ตรวจวางมือบริเวณชายโครงตามแนวกระดูก ซี่โครงที่ 6 โดยนิ้วหัวแม่มืออยู่ที่ Xiphoid process ฝ่ามือโอบด้านข้าง ของทรวงอก บอกให้ผู้ป่วยหายใจ เข้าออกลึกๆ สังเกตการเคลื่อนที่ออกจาก จุดกึ่งกลางของนิ้วหัวแม่มือและ การขยายของฝ่ามือทั้ง 2 ข้าง
Tactile fremitus (การคลําการสั่นสะเทือน ของเสียงสะท้อน) โดยการใช้ฝ่ามือข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง2 ข้างวางบนผนังอกด้านหลังและด้านหน้าใน ตําแหน่งที่ตรงกันทั้ง2 ข้างจากบนลงล่าง ให้ผู้ป่วยนับ 1-2-3 ดังๆจะสัมผัสถึงความรู้สึกสั่นสะเทือนที่เกิดจากเสียง เปรียบเทียบกันทั้ง 2 ข้าง
-
-
-
3.)ตา
คิ้ว (eye brow): การกระจายของคิ้ว การหลุดร่วง
เปลือกตา (eye lid): หนังตาตกหรือไม่ (Ptosis) เปลือกตามีก้อน
ขนตา (eye lash ): กระจายของขนตา มีขนตาม้วนเข้าข้างในหรือไม่
เยื่อบุตา ( conjunctiva) :ตรวจส่วนที่คลุมเปลือกตาด้าน ใน (palpebral part) อาจมีก้อน สีผิดปกติและส่วนที่คลุมตา ขาว ( bulbar part) ซีดหรือแดง Injection
กระจกตา ( cornea): เรียบ ใส มีขอบสีขาวรอบๆพบในผู้สูงอายุ (Arcus senilis)
ตาขาว (sclera): เหลืองหรือไม่ (Icteric sclera)
ช่องหน้าม่านตา (anterior chamber): ดูความลึก มีเลือด (hyphema) มีหนอง (hypopyon) หรือน้ำ aqueous humor ขุ่นหรือไม่
ม่านตา ( iris): บ่งบอกเชื้อชาติ สีดำ น้ำตาล ฟ้า เขียว
รูม่านตา (pupil): ดูสี ขนาด ตำแหน่ง รูปร่าง ปฏิกิริยาต่อแสง (direct light reflex) และ consensual light reflex
เลนส์ ( lens) : ใส สะท้อนกับแสงไฟฉาย
-
-
-
-
9.)ตรวจท้อง
ตรวจตับ
1.เคาะ
เคาะในแนวเส้นกลาง Midclavicular line. เริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำกว่าสะดือ(มีเสียงโปร่ง) ค่อย ๆเคาะขึ้นบนจนได้ขอบล่างของตับ มี เสียงทึบ แล้วเคาะจากบริเวณหน้าอกซึ่งมีเสียงโปร่ง ค่อยๆเคาะต่ำลงจนพบขอบบนของตับ จากนั้นจึงวัดความสูงของตับ (Liver span)ขนาดของตับปกติ = 6 – 12 ซม. แนว Midclavicular line และ = 4 – 8 ซม. แนว Midsternal line
2.คลำ
- การคลำเบาๆหรือตื้นๆ (Light palpation)
-
-
-
- การคลำลึกๆ หรือการคลำโดยใช้สองมือ (Deep / bimanual Palpation)
วิธีการตรวจ
ใช้มือซ้ายรองรับทางด้านหลังผู้ป่วย มือขวาวางราบบน ผนังหน้าท้อง ให้ปลายนิ้วชี้ไปทางศีรษะผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยงอเข่าขวาเล็กน้อย และหายใจเข้า-ออกลึก ๆ ช้า ๆ ทางปาก เริ่มคลำจากหน้าท้องด้านขวาล่าง แล้วค่อย ๆ เคลื่อนขึ้นข้างบน เข้าหาชายโครงจนนิ้วคลำพบขอบตับ
วิธีเกี่ยว (Hooking technique) วิธีตรวจ : ผู้ตรวจยืนทางขวาและหันหน้าไปทางปลายเท้าผู้ป่วย ใช้นิ้วกดลงบริเวณใต้ชายโครงขวา แล้วดึงเข้าหา ชายโครง ขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ
ตรวจม้าม
คลำ
ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้าย มือขวาวางบนหน้าท้องให้นิ้วตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้าย เริ่มคลำที่หน้าท้องด้านล่างซ้าย แล้วค่อย ๆเลื่อนขึ้นข้างบนจนปลายนิ้วพบขอบม้ามซึ่งยื่น ออกมาใต้ชายโครงซ้าย จะสามารถคลำพบม้ามได้เมื่อม้ามโตกว่าปกติ
วิธีตรวจท้อง
-
3.เคาะ
-
วิธีการตรวจ
ใช้นิ้วกลางข้างที่ถนัดเคาะ วางมืออีกข้างไว้บริเวณตําแหน่งที่ต้องการเคาะให้แนบสนิทไปกับผิวหนังของคนไข้ ใช้นิ้วกลางข้างที่ถนัดเป็นนิ้วที่เคาะ งอนิ้วและใช้ข้อมือเป็นจุดหมุนเคาะเป็นแนวดิ่งลงไปที่บริเวณ Interphalangeal joints ของนิ้วกลางข้างที่วางแนบอยู่ที่ผิวหนังหน้าท้องของผู้ป่วย
1.ดู
- รูปร่างลักษณะของท้อง ท้องโตกว่าปกติหรือไม่
- ดูความสมมาตร (Symmetry)
- แผลเป็น (Scars) รอยแผลผ่าตัด หรือลายที่ผนังหน้าท้อง (Striae)
- หลอดเลือดดำที่โป่งพอง (Superficial vein dilatation)
- ดูสีผิวหนังบริเวณหน้าท้อง (Color)
6.สะดือ มีการดึงรั้งหรือไม่ ในผู้ที่มีการอักเสบหรือไส้เลื่อน (Umbilical hernia)
- การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารหรือลำไส้ (visible peristalsis) แสดงถึงการอุดตันในทางเดินอาหาร
- ดูรอยโรคหรือลายหน้าท้อง (Lesion or Striae
4.คลำ
การคลําจะใช้อุ้งนิ้วมือทั้ง 4 นิ้วคลําก่อนการคลําต้องถามผู้รับบริการว่าปวดหรือเจ็บบริเวณไหนและให้คลําบริเวณนั้นเป็นตําแหน่งสุดท้ายขณะคลําต้องสังเกตสีหน้าของผู้รับบริการด้วย
1) คลําตื้น ใช้อุ้งนิ้วมือทั้ง 4 นิ้ว กดลงบริเวณหน้าท้องประมาณ 1 เซนติเมตร คลําวนไปตามเข็มนาฬิกา เริ่มจากรอบสะดือจนทัวท้อง ขณะคลําห้ามยกมือ
-
-
7.)คอ
-
คลํา
-
2.Thyroid gland (ต่อมไทรอยด์) : ผู้ตรวจอยู่ด้านหน้าหรือด้านหลังก็ได้ ใช้หลักการเดียวกันคือ สอดมือเข้าใต้ Sternocleidomastoid และคลำขณะที่ผู้ป่วย กลืนน้ำลาย
-
-
-
-
-
5.)จมูก
การดู
-
รูจมูก(Nares)
-เยื่อบุจมูก(nasal mucosa)
-ผนังกั้นช่องจมูก(septum)
-เยื่อบุจมูกที่คลุมเทอร์บิเนต(turbinates)
การคลํา
-
Maxillary sinuses ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือกดและดันขึ้นที่โหนก แก้มระดับเดียวกับปีกจมูก มีอาการกดเจ็บไหม
6.)ปาก
การดู
-ริมฝีปาก(Lip)
-เยื่อบุกระพุ้งแก้ม (Buccal mucosa)
-เหงือก(gum)
-ฟัน (teeth)
-ลิ้น(Tongue)
-ต่อมทอนซิล(Tonsils)
-คอด้านใน(pharynx) : แดง มีตุ่ม มีเยื่อเมือกหรือไม่
-เพดานปาก(palate)
-ลิ้นไก่(uvula)
อ้างอิง
รองศาสตราจารย์ เพ็ญจันท์ ส.โมไนยพงศ์.การตรวจร่างกาย1/2 รศ.เพ็ญจันท์ ส.โมไนยพงศ์.[video]. สืบค้นจาก https://youtu.be/t0EgoR8-BZ8 สืบค้นวันที่ 13 กรกฎาคม 2564
รองศาสตราจารย์ เพ็ญจันท์ ส.โมไนยพงศ์.การตรวจร่างกาย2/2 รศ.เพ็ญจันท์ ส.โมไนยพงศ์.[video]. สืบค้นจาก https://youtu.be/VEjjoktLv2s สืบค้นวันที่ 13 กรกฎาคม 2564
-