Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ …
บทที่ 9
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ (การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ)
แนวทางการป้องกันและรักษา
การรักษา
2.1 รายที่มีการติดเชื้อแบบ ASB
รับยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาทุกราย
2.2 รายที่มีการติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
รักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะ
2.3 รายที่เป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
ให้สารละลายทางหลอด
เลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
ส่งตรวจ Urine culture
ไม่พบเชื้อจึงเปลี่ยนมาเป็นยาชนิดรับประทาน
การป้องกัน
1.2 แนะนำให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
1.1 แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
1.3 ทำการคัดกรองการติดเชื้อ
เพาะเชื้อปัสสาวะ (urine culture)
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบขับถ่ายปัสสาวะ
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute
pyelonephritis)
กลุ่มอาการโรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic syndrome)
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
ภาวะไตวาย (renal failure)
5.1 ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
5.2 ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ (Asymptomatic bacteriuria: ASB)
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอด หรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไป
(ascending infection)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกตายคลอด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การเจ็บครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ติดเชื้อในกระแสเลือดอาจเกิด
septic shock
เกิดการแท้ง
อาการและอาการแสดง
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower UTI)
ท่อปัสสาวะอักเสบ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper UTI)
กรวยไตอักเสบ
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นเรื่องการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ให้คำแนะนำเช่นเดียวกับคำแนะนำเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
ตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
กรณีที่ต้องรับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
ประเมินเสียงหัวใจของทารกและการดิ้นของทารก
ให้การพยาบาลเพื่อบรรเทาความไม่สุขสบาย
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลประคับประคองจิตใจ
ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์ทำให้ท่อไตตึงตัว ทำให้การเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของท่อไตลดลง