Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Precipitate labour (การคลอดเร็วที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ), นางสาวสุธิตา…
Precipitate labour
(การคลอดเร็วที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ)
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารก
:check: เลือดออกในสมอง
:check: อาจเกิดความผิดปกติของ
กล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกิดนไป
หรือเรียกว่า Erb'palsy
:check: อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
:check: ทารกได้รับบาดเจ็บ
:check: สายสะดือขาด
:check: คลอดทั้งถุงน้ำคร่ำ ทารกอาจสำลัก
:check: ทารกอาจติดเชื้อ
สาเหตุและ
ปัจจัยเสริม
:fire::fire:
ครรภ์หลังมากกว่าครรภ์แรก
:check: แรงต้านทานของเนื้อเยื่อ
ของช่องทางคลอดไม่ดี
:check: การหดรัดตัวของมดลูกและ
กล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ หรือ
จากการให้ยาเร่งคลอดมากกว่าปกติ
:check: ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อต่างๆ
มีการยืดขยายมาก
:check: ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
:check: เคยมีประวัติคลอดเร็ว
:check: ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวด
จากการคลอด หรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
:check: ทารกตัวเล็ก
ผลของการคลอด
เฉียบพลัน
:forbidden: ต่อมารดา
:check: ตกเลือดหลังคลอด
:check: แผลฉัีกขาด ติดเชื้อ
:check: มดลูกปลิ้น
:forbidden: ต่อทารก
:check: ศีรษะกระทบกระเทือน
:check: ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
:check: สำลักน้ำคร่ำถ้าคลอดทั้งถุง
การรักษา
:star: ให้การดูแลตามอาการ ถ้าประสบ
กับการคลอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
:star: เจ็บครรภ์ถี่มาก ให้หยุดให้
oxytocin อาจให้ยาช่วย
ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
:star:ดูแลให้ได้ ABO เพื่อป้องกัน
การติดเชื้อ
:star: ให้ยา Methergin/oxytocin
หลังคลอดเพื่อป้องกัน PPH
:star: การผ่าตัด ถ้ามีการขยายของ
ปากมดลูกไม่ดี อาจเกิดมดลูกแตก
ต้องรีบ C/S
การป้องกัน
:star: ระวังในรายประวัติ
การคลอดเฉียบมาก่อน
:star: ติดตามความก้าวหน้า
การคลอดอย่างใกล้ชิด
:star: ระวังหรืองดให้ยากระตุ้นมดลูก
:star: เตรียมอุปกรณ์ทำคลอดรับเด็ก
และออกซิเจน
ความหมาย
:check: การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ
ใช้เวลาน้อยกว่า 3 hr.
:check: ครรภ์แรก ปากมดลูกเปิด 5 cm./hr.
(1 cm./12 min)
:check: ครรภ์หลัง มากกว่า 10 cm./hr.
(1 cm./6 min)
อาการแสดง
:check: เจ็บครรภ์มาก มดลูดหดรัดตัวถี่
และรุนแรง มากกว่า 5 ครั้ง ใน 10 นาที
:check: PV พบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก เปิด 5 cm หรือมากกว่า 5 cm/hr
ครรภ์หลัง เปิด 10 cm หรือมากกว่า 10 cm/hr
การวินิจฉัย
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และ
คลอดน้อยกว่า 3 ชั่วโมง
ปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ความดันภายในโพรงมดลูก
ประมาณ 50-70 mm.Hg.
การพยาบาล
:star: รีบป้องกันการฉีกขาด
:star: กดศีรษะทารกลงรีบรับเด็ก
:star: ฉีกถุงน้ำให้แตก
:star: จับทารกนอนศีรษะต่ำ
ล้วงน้ำคร่ำเมือกออก
:star: ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 ชั้นปีที่ 4