Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.3 การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ 💯🏥🚑✨❤️🔥🤒🤢🤰🏼, จัดทำโดย …
9.3 การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ 💯🏥🚑✨❤️🔥🤒🤢🤰🏼
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ (hepatitis A virus: HAV)
คือ
ตับอักเสบจากไวรัสตับอักเสบเอ (hepatitis A virus: HAV)
ติดต่อโดยการรับประทานอาหาร หรือน้ำ ที่
มีการปนเปื้อนเชื้อโรคตับอักเสบเอเข้าไป
เชื้อไวรัสจะผ่านกระเพาะไปยังลำไส้ จากนั้นประมาณ 15-50
วัน (เฉลี่ย 28 วัน) เกิดการอัหเสบเฉียยบพลัน
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงที่พบ
ได้แก่ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และ
ปวดศีรษะ
มักไม่มีอาการของดีซ่าน
ตรวจพบ alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น
อาการจะมีอยู่ 10-15
วัน
จากนั้นจะเข้าสู่ระยะพักฟื้น และหายจากการเป็นโรค
ผู้ที่หายจากการเป็นโรคแล้วมักจะมีภูมิคุ้มกัน
และจะไม่เป็นพาหะ
ไม่เป็น chronic hepatitis
ไม่เป็น chronic liver disease
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
การตั้งครรภ์ไม่มีผลทำให้อาการของโรครุนแรงมากขึ้น
ติดเชื้อ HAV ขณะตั้งครรภ์นั้น
ร่างกายมารดาจะสร้าง antibody ต่อเชื้อ HAV
สามารถผ่านไปยังทารกในครรภ์ได
มีผลคุ้มกัน
ทารกไปจนถึงหลังคลอดประมาณ 6-9 เดือนจากนั้นจะหมดไป
เชื้อในระยะใกล้คลอด อาจมีการแพร่กระจายเชื้อไปยังทารกในระยะคลอด หรือระยะหลังคลอดได
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การสัมผัสเชื้อโรค
การตรวจร่างกาย ตรวจพบลักษณะอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ HAV
มีไข้
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องอืด
ตัวเหลืองตาเหลือง
LAB
ตรวจหา antibody-HAV และ IgM-anti HAV
ตรวจการทำงาน
ของตับ
การป้องกันและการรักษา
ยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อ HAV ให้หายได้อย่างเด็ดขาด
ประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
ถึงแม้ว่าเชื้อ HAV จะไม่ผ่านรก แต่หากสตรีตั้งครรภ์ติดเชื้อใน
ระยะใกล้คลอด
ทารกมีโอกาสติดเชื้อหลังคลอดได
อาจพิจารณาให้ immune serum globulin
(ISG) ในรายที่สัมผัสเชื้อ หรือรายที่ต้องไปอยู่ในถิ่น
นทารกที่คลอดจากสตรีตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อในระยะใกล้คลอดควร
ได้รับ ISG ขนาด 0.5 mg แก่ทารกทันทีหลังคลอด
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือในการรักษา
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
2.1 พักผ่อนอย่างเพียงพอ
2.2 รับประทานอาหารที่สุก สะอาด
2.3 มาตรวจตามนัดเพื่อประเมินสภาวะของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
2.4 หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ
ได้แก่ acetaminophen
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล
สุกใส (Varicella-zoster virus: VZV)
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ
ระยะฟักตัวนาน 10-20 วัน
กรณีที่โรคสุกใสเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอด จะเรียกว่า congenital varicella syndrome
เกิดจากการติด
เชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์
มารดาติดเชื้อไวรัสสุกใสขณะตั้งครรภ์ ซึ่งจะมีผลต่อความพิการของทารกใน
ครรภ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อในช่วง 3 เดือน ของการตั้งครรภ์ ซึ่งส่งผลต่อความพิการของทารกใน
ครรภ์ได้สูง
อาการและอาการแสดง
มักจะมีไข้ต่ำ ๆ นำมาก่อนประมาณ 1-2 วัน
ค่อยมีผื่นขึ้น ลักษณะของผื่น และตุ่ม
มักจะขึ้นตาม
ไรผม หรือหลังก่อน
จะเห็นเป็นตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ (dewdrops
on a rose petal)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มักจะมีอาการรุนแรงมากกว่าเด็ก
โดยเฉพาะในสตรีตั้งครรภ์ ซึ่งมี
ภาวะภูมิคุ้มกันที่ลดลงจากการตั้งครรภ
พบว่าความรุนแรงของการติดเชื้อสุกใสมากขึ้น
โดยเฉพาะในระยะ
อายุครรภ์ใกล้ครบกำหนดคลอดจะยิ่งอันตราย ซึ่งส่วนใหญ่ ร้อยละ 40
จะมีปัญหาภาวะปอดอักเสบ ปอดบวม
ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว
บางรายอาจจะมีอาการทางสมอง ทำให้ซึมลง
มีอาการชัก
ทำให้เสียชีวิตได้ทั้งแม่ และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์
โดยทารกในครรภ์มีโอกาสติดได้ร้อยละ 10 เท่าๆ
กันทุกไตรมาส
โดยเฉพาะในไตรมาสแรก
อาจทำให้ทารกเกิดความพิการก่อนกำเนิดได
เช่น ความผิดปกติของตา
(ต้อกระจก)
การติดเชื้อปริกำเนิด
อาจติดเชื้อผ่านทางมดลูก
ะช่องทางคลอด
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค
การรักษาแบบประคับประคอง เพื่อบรรเทาอาการ
การรักษาแบบเจาะจง โดยการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
การพยาบาล
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง วิตามินซีสูง
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
กรณีที่มารดามีอาการ ให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ 5 วัน
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค โดยการใช้หลัก universal precaution
กรณีพ้นระยะการติดต่อ หรือมารดามีการตกสะเก็ดแล้ว สามารถให้นมบุตรได้
แนะนำการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันท
เน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัด และมาพบแพทย์ทันที
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
คือ
เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ rubella virus
(german measles virus)
ผ่านทางเดินหายใจ
ระยะฟักตัว 14-21 วัน ระยะติดเชื้อ 7 วัน
ก่อนผื่นขึ้นและ 4 วันหลังผื่นขึ้น
เชื้อไวรัสจะสามารถผ่านไปยังทารก ในกรณีที่สตรีตั้งครรภ์ติดเชื้อตอน ระยะ 3-4 เดือนแรก
พยาธิสรีรภาพ
2 ลักษณะ
กลุ่มไม่มีอาการทางคลินิก
ตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อหัดเยอรมันอย่างเดียว และกลายเป็นพาหะของโรคต่อไป
กลุ่มที่มีอาการทางคลินิก
มีผื่นที่ใบหน้า ลามไปที่ลำตัวและแขนขา
ลักษณะของผื่นจะเป็นตุ่ม
เกิดได้ตั้งแต่วันที่ 7-10 หลังได้รับเชื้อ และจะคงอยู่ 4 สัปดาห
ปวดข้อ ปวดเข้า พบต่อมน้ำเหลืองโต
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ ต่อนน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต
อาจมีอาการปวดข้อ โดยไข้จะเป็นอยู่ 1-2 วันก็จะหายไป
มีผื่นขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดง (maculopapular)
มองเห็นเป็นปื้นหรือจุด
กระจัดกระจาย
เริ่มขึ้นที่ใบหน้าจากนั้นจะแผ่กระจายลงมาตามหน้าอก ลำตัว แขนขา จนทั่วร่างกายอย่าง
รวดเร็ว
อาการจะเกิดขัดเจนในวันที่ 7-10 และจะคงอยู่ 4 สัปดาห์ จากนั้นผื่นจะจางหายไป
ในบางรายที่ไม่มีอาการข้างต้น จะมีเพียงอาการคล้ายเป็นหวัด แต่เมื่อตรวจเลือดจะพบภูมิคุ้มกัน
เชื้อหัดเยอรมัน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ
การติดเชื้อหัดเยอรมันระหว่างตั้งครรภ์ไม่ทำให้อาการของโรครุนแรงขึ้น
ไม่ทำให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น จึงไม่เกิดผลกระทบต่อมารดา
แต่อาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยเท่านั้น
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว
ความผิดปกติถาวร
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิด แต่ปรากฏภายหลัง
เช่น ภาวะเบาหวาน
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ 2. การตรวจร่างกาย 3. LAB
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกันเนื่องจากเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง คุ้มกับค่าใช้จ่าย
และควรเน้นการ
ฉีดวัคซีนในเด็กหญิง สตรีวัยเจริญพันธุ
คัดกรองหารายที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันเพื่อให้วัคซีน
ทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อหัดเยอรมัน
ภายหลังคลอดต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่ง
ตรวจเพื่อยืนยันการติดเชื้อและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน
ในสตรีที่มาฝากครรภ์ควรตรวจดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือไม่
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมัน
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัย
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินของโรค
กรณีที่ตัดสินใจยุติการตั้งครรภ
รายที่ตัดสินใจดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ และคลอดทารกที่มีความพิการ
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับการฉีดวัคซีน
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี(Hepatitis B virus)
คือ
ตับอักเสบจากไวรัสตับอักเสบชนิดบี (Hepatitis B virus)
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virus ผ่าน
ทางเลือด น้ำลาย อสุจิ สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำนม และผ่านทางรก
เชื้อเข้าตัวเร็ว โดยผู้ที่ติดเชื้อบางรายอาจไม่มีอาการของตับอักเสบทำให้
ไม่ทราบว่าตนเองมีเชื้ออยู่ในร่างกาย
อักเสบเรื้อรังอย่างต่อเนื่องทำให้กลายเป็นตับแข็ง
และมะเร็งตับในอนาคต
🇹🇭🇹🇭🇹🇭ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อ Hepatitis B virus ประมาณ 2.2 – 3 ล้านคน
ช่วงอายุ 30 ปีขึ้นไป
คาดว่ามีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ป
พยาธิสรีรภาพ
ระยะแรก
Hepatitis B virus เข้าสู่ร่างกาย เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว
ไม่มีอาการแสดง ซึ่งแสดงว่ายังไม่มีการอักเสบของตับ
หากตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลบวก และพบ Hepatitis B virus DNA (viral load) จำนวนมาก
ระยะที่สอง
ประมาณ 2-3 เดือนหลังจากได้รับเชื้อ Hepatitis B virus
จะเข้าสู่ระยะที่สองผู้ติดเชื้อ
จะมีอาการอ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นใต้ชายโครงจากตับโต ปัสสาวะเข้ม ตัวเหลือง
ตาเหลือง ตับเริ่มมีการอักเสบชัดเจน
ตรวจพบเอนไซม์ตับสูงขึ้น ในระยะนี้ร่างกายจะสร้าง anti-HBe
ขึ้นมาเพื่อทำลาย HBeAg
anti-HBe ให้ผลบวกและจำนวน Hepatitis B
virus DNA ลดลง
ระยะที่สาม
ระยะที่ anti-HBe ทำลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL (20,000
IU/mL)
อาการตับอักเสบจะค่อย ๆ ดีขึ้น ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน และเข้าสู่ระยะโรคสงบ (inactive
carrier)
หากตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลลบ anti-HBe ให้ผลบวก และค่าเอนไซม
ระยะที่สี่
เป็นระยะที่เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ (re-activation phase)เป็นระยะที่เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ (re-activation phase)
ทำให้เกิดการ
อักเสบของตับขึ้นมาอีก
หากตรวจเลือดเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลลบ และ anti-HBe ให้ผลบวก
นี้ถ้า anti-HBe ไม่สามารถทำลาย HBeAg ได้จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL
จะเข้าสู่ภาวะตับอักเสบ
เรื้อรังจนเนื้อตับเสียหาย
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงไม่แตกต่างกับสตรีที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ เมื่อได้รับเชื้อเข้าสู่ร่างกาย เชื้อจะฟักตัว 50-150 วัน
(เฉลี่ย 120 วัน)
ระยะแรกผู้ที่ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ แต่ถ้ามีอาการจะเริ่มด้วยมีไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง
อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา คล าพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชาแก
ปลายสัปดาห์แรกจะเริ่มมีตาเหลืองตัวเหลือง
เมื่อถึงระยะนี้ไข้จะลดลง อาการทั่วไปจะดีขึ้น และจะหายเป็นปกติภายใน 2-4 สัปดาห์ มีบางส่วนกลายเป็นโรคตับ
อักเสบเรื้อรัง
อาจมีภาวะตับวาย กลายเป็นมะเร็งตับและเสียชีวิตในที่สุด
โอกาสที่จะกลายเป็นมะเร็งตับเพิ่มขึ้นตามจ านวนเชื้อไวรัสในร่างกายและอาย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
เป็นพาหะของ Hepatitis B
virus
แต่ไม่มีอาการแสดงของตับอักเสบจะไม่
เสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
หากมีการติดเชื้อ Hepatitis B virus ใน
ไตรมาสที่ 3 จะเพิ่มความเสี่ยง
preterm labor
ผลต่อทารก
LBW
DFU
Still birth
สตรีตั้งครรภ์ที่มีผล HBeAg positive จะมีอัตรา
การถ่ายทอดเชื้อไวรัส สจากสตรีตั้งครรภ์ไปสู่ทารกสูงถึงร้อยละ
90 และสามารถพัฒนาเป็นโรคตับแข็ง งและมะเร็งตับใน
อนาคต
สตรีตั้งครรภ์ที่มีผล HBeAg negative
จะมีอัตรา
การถ่ายทอดเชื้อเพียงร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 20เท่านั้น
การประเมินและการวินิจฉัย
การซัก Hx.:
การเป็นพาหะของHep. B
เคยมีอาการแสดง
เคยสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็น Hep.
B หรือคนที่เป็นพาหะ
การตรวจ PE:
พบอาการและอาการแสดง
คลื่นไส้
อาเจียน
เบื่ออาหาร
ตับโต
ตัวเหลืองตาเหลือง
LAB:
LFT
antigen และ antibody ของไวรัส
HBsAg, Anti-Hbs
Anti-HBc
HBeAg
Anti-HBe
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg
กรณีได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อ Hepatitis B virus
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
ไม่จำเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารก
แนะนำการปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับมารดาหลังคลอดทั่วไป
แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
ระยะคลอด
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงและให้การดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ และการตรวจทางช่องคลอดเพื่อป้องกันถุงน้ำคร่ำ
เมื่อศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ
ทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด เพื่อลดการสัมผัสกับเชื้อที่อยู่ในเลือดและสารคัดหลั่ง
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด โดยฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG)
ให้การดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
อธิบายแก่สตรีตั้งครรภ์เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
ในรายที่มีการติดเชื้อเรื้อรัง แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
คือ
การติดเชื้อเฉียบพลัน พบได้ 1-5 คนต่อ 1000 คนของสตรีตั้งครรภ์
การติดเชื้อโดยก าเนิด 1-10 ต่อ 10,000 การคลอด
เกิดจากปรสิตคือToxoplasma gondii
มีพาหะหลักคือ แมว ส่วนพาหะชั่วคราวคือ หนู กระต่าย แกะ รวมทั้งคน
การติดต่อเกิดขึ้นได้โดยการรับประทานผัก หรือผลไม้ที่ปนเปื้อนดินที่มี oocyte
การติดเชื้อนี้มักหายได้เองหรือไม่มีอาการ
โดยทั่วไปการติดเชื้อในคนมักไม่มีอาการ
อาการและอาการแสดง
Pregnancy
Abortion
Preterm labor
Chorioamnionitis
PROM
Placenta abruption
Fetus & NB
Fetal infection
Neonatal infection
fever
Seizures
Microcephaly
Chorioretinitis
Cerebral calcification
ตับและม้ามโต
ตาและตัวเหลือง
ทารกมักเสียชีวิตหลังคลอด
ทารกที่ติดเชื้อ สมองและตาจะถูกท าลาย
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักHx.
การสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค
LAB
ตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
การวินิจฉัยก่อนคลอด
U/S
การ PE
อาจพบภาวะปอดบวม หัวใจอักเสบ
มักไม่แสดงอาการ หรือมีอ่อนเพลียเล็กน้อ
แนวทางการป้องกนัและการรักษา
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์ ไม่ปล่อยให้แมวออกนอกบ้าน
หากจำเป็นต้องทำความสะอาดอุจจาระแมว สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง ไข่ดิบ นมสดที่ไม่ผ่านการ
พาสเจอร์ไรส์
และควรล้างมือให้สะอาดหลังจับต้องเนื้อสัตว์ดิบ
แนะนำให้สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้งในการท าสวน
ถ้าพบ IgM ในมารดา ให้คาดว่ามีการติดเชื้อ และรักษาด้วย spiramycin
การวินิจฉัยทารกก่อนคลอด: cordocentesis
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเปิดโอกาสให้ซักถาม
ติดตามผลการตรวจเลือด
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา และการสังเกตอาการ
แนะนำเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ระยะคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด เน้นเรื่องการรักษาความสะอาด
ระยะหลังคลอด
ดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ในขณะรอคลอด และขณะคลอด ควรแยกห้องคลอด และอุปกรณ์ เครื่องใช้ต่าง ๆ
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ป้ายตาด้วย 1% tetracycline ointment หรือ 0.5%
erythromycin ointment หรือ 1% Silver nitrate (AgNO3)
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์ (COVID-19 during Pregnancy)
โรคโควิด-19 เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดได้รวดเร็วจนแพร่กระจายทั่วโลกเกิดจากเชื้อไวรัสตระกูล
Corona ชื่อ SARS-CoV-2
อาการและอาการแสดง
ไม่แสดงอาการใด ๆ และมีอาการและอาการแสดงของอุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้น
ไป
ให้ประวัติว่ามีไข้ในการป่วยครั้งนี้ร่วมกับมีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง
ไอ น้ำมูก เจ็บคอ หายใจติดขัด หรือหายใจลำบาก
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ทำให้การดำเนินของโรครุนแรงขึ้นเนื่องจากภูมิต้านของร่างกายขณะตั้งครรภ์ลด
ต่ำลง
สตรีตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์พัฒนาการล่าช้า
คลอดน้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อนกำหนด
อาจตรวจพบการติดเชื้อได้ในทันทีหลังคลอด หรือตรวจพบภายใน 7 วัน หลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
HX: ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ
ระยะเวลาและประวัติการเดินทางไป
ในพื้นที่เสี่ยง
มีการแพร่ระบาดรวมถึงประวัติอาการและอาการแสดงของโรค
PE: Fever > 37.5องศาเซลเซียส
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้ง หายใจ
ติดขัด อาจมีคัดจมูก มีน้ามูก เจ็บคอไอเป็นเลือด หรือท้องเสีย
LAB:
Blood
Viralnucleic acid
ตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
การตรวจพิเศษ : CXR, MRI for pnumonia
แนวทางการรักษา
สถานที่และอุปกรณ์
เน้นให้บุคลากรใส่ชุด PPE
เคลื่อนย้ายผู้ป่ วยในรพ.และไปกับรถพยาบาล
บุคลากรต้องใส่ full PPE
การดูแลรักษา
สตรีตั้งครรภ์ที่สงสัยจะติดเชื้อโรคโควิด-19
ถ้ามีไข้ ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
หากเป็นไปได้ให้เลื่อนการนัดผ่าตัดคลอดหรือการกระตุ้นคลอดออกไปอย่างน้อย 14
วันหรือจนกว่าผลตรวจเชื้อไวรัสเป็นลบ
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการรุนแรง
หากอาการแย่ลง เช่น หายใจเหนื่อยหอบมากขึ้น เจ็บหน้าอก หรือมีhypoxia เป็นต้น
ควรคิดถึงภาวะ pulmonary embolism
ไม่ให้ออกซิเจนทาง face mask หรือ face mask with bag
On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ให้ยาต้านไวรัสและ/หรือยาอื่น ๆ
Lopinavir/Ritonavir
remdesivir
(nucleotide analog
chloroquine (antimalarial drug)
favipiravir
ยุติการตั้งครรภ์ตามขอ้บ่งชี้ด้านสูติศาสตร์หรือกรณีที่จะเป็นประโยชน์ต่อการกู้ชีพ
มารดา
การดูแลรักษากรณีฉุกเฉิน
ถ้าซักประวัติไม่ได้ ให้ทำการรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วย
ที่เข้าข่ายการสืบสวนโรค และบุคลากรใส่ชุด full PPE
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง ตามความจำเป็น
วิธีคลอดพิจารณาตามความเหมาะสมและนโยบายของแต่ละโรงพยาบาล
ไม่มีข้อห้ามของการคลอดทางช่องคลอด
ทำ epidural block ได้และมีข้อด
การใช้ก๊าซสูดดมเพื่อระงับความปวดควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
การตัดสินใจผ่าตัดคลอดควรพิจารณาให้เร็วและลดเกณฑ์ลง
ผ่าตัดในห้องแยกความดันลบ
การระงับความรู้สึกหลีกเลี่ยง general anesthesia
กรณีเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การให้ corticosteroids สำหรับกระตุ้นปอดทารกในครรภ์
ปรึกษาอายรุแพทย์
โรคติดเชื้อเพราะจะทำให้ผู้ป่วยที่อาการหนักแย่ลง
อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์จะไม่ให
การยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ไม่แนะนำให้ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อรอให้ยา corticosteroids ครบ dose
ให้ magnesium sulfate สำหรับ neuroprotection ได้
ทารกที่แท้งหรือเสียชีวิต รกและน้ำคร่ำให้ส่งตรวจหาเชื้อไวรัส
การดูแลทารกแรกเกิด
การให้ทารกดูดนมจากเต้า หรือการแยกทารกออกจากมารดา
การดูแลมารดาหลังคลอด
หลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด
การดูแลด้านจิตใจ
เฝ้าระวังและประเมินความเครียดและอาการซึมเศร้า
การพยาบาล
การดูแลและการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ COVID-19
1.1 หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข หรือมาจากพื้นที่เสี่ยง
1.2 รักษาระยะห่าง social distancing
1.3 หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
1.4 รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
1.5 หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะรับประทานอาหารและของใช้ส่วนตั
1.6 ล้างมือบ่อย ๆ
1.7 เน้นย้ำให้สตรีตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามนัดได้ตามปกต
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีประวัติการเดินทางมาจากประเทศกลุ่ม
เสี่ยง หรือสัมผัสหรือใกล้ชิดผู้ป่วย COVID-19 ควรปฏิบัติตน
2.1 แยกตนเองออกจากครอบครัว และสังเกตอาการจนครบ 14 วัน
2.2 งดการออกไปในที่ชุมชนสาธารณะโดยไม่จำเป็น และงดการพูดคุย
2.3 กรณีครบกำหนดนัดฝากครรภ์
2.4 กรณีเจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันท
ดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อและติดเชื้อ COVID-19
แนวทางการปฏิบัติในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เมื่อคำนึงถึงประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดาหลังคลอด ในกรณีแม่เป็นผู้ที่สงสัยว่าจะติดเชื้อ
5.1 ก่อนเริ่มกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเตรียมนมและการปั๊มนม
5.2 อาบน้ำหรือเช็ดทำความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ำและสบ
5.3ล้างมือให้สะอาด
5.4 สวมหน้ากากอนามัย
5.5 หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเตรียมนมและการปั๊มนม
5.6 ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์
5.7 การให้นม ควรให้ผู้ช่วยเหลือ หรือญาติที่มีสุขภาพแข็งแรง
การติดเชื้อไวรัสซิก้า (Zika)
คือ
มียุงลายเป็นพาหะนำโรค
ซึ่งเป็นยุงชนิดเดียวกับที่เป็นพาหะนำโรค โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
(Chikungunya)
สามารถติดต่อได้โดยการถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด
โรคนี้ยังสามารถติดต่อ จากคนสู่คนได้โดยผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์
เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อฟลาวิไวรัส (Flavivirus)
ระยะฟักตัว 3-12 วัน ก่อนแสดงอาการ
พบเชื้อนี้ในน้ำอสุจิได้นาน 6 เดือน
พบเชื้อสารคัดหลั่งในช่องคลอดสตรี น้ำลายและปัสสาวะ และในเลือด ได้นาน 58วัน
WHO ประกาศให้โรคนี้เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ
ประเทศไทยได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคติดเชื้อไวรัสซิกาเป็นโรคที่ต้องแจ้งความ
อาการและอาการแสดง
เมื่อได้รับเชื้อระยะฟักตัวอยู่ที่ประมาณ 3-12 วัน
มักมีอาการไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ส่วนน้อยมีภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท และระบบภูมิคุ้มกัน
ยกเว้นในสตรีตั้งครรภ์ซึ่งอาจจะส่งผลให้ทารกที่คลอดมามีศีรษะเล็กกว่าปกติ(microcephalus)
โดยเฉพาะการติดเชื้อนี้ในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ผลกระทบ
Pregnancy
มักแสดงอาการมากในไตรมาสที่ 3
ผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ ผื่นหลังคลอด
ไข้ หนาวสั่นรู้สึกไม่สุขสบาย ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อตึงตัว
Fetus & NB
IUGR
DFU
Still birth
Neonatal dead
Microcephalus
มีความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาท ตาและการมองเห็น
การประเมินและการวินิจฉัย
HX.: ประวัติอาการของผู้ป่วย
PE: มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน ้าเหลืองโต ตัวเหลือง ซีด บวมปลายมือปลายเท้า เลือดออกตาม
ผิวหนัง มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ
LAB: โดยใช้สิ่งส่งตรวจ
เช่น เลือด ปัสสาวะ น้ำลาย เทคนิคที่ใช้ในการตรวจ
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี Reverse Transcriptase Polymerase
Chain Reaction (RT-PCR)
การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วยวิธี ELISA หรือ Immunofluorescence
การวินิจฉัยการติดเชื้อของทารกในครรภ์
amniocentesis
cordocentesis
chorionic villi sampling
การตรวจพิเศษ : U/S ประเมินเส้นรอบศีรษะทารกในครรภ์(HC)
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
• กระทรวงสาธารณสุข ก าหนดมาตรการด้านการเฝ้าระวังคัดกรองโรค
โดยได้มีระบบการเฝ้าระวัง
ครอบคลุม 4 ด้าน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทารกที่มีความพิการแต่ก าเนิด
ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบ
ประสาท
การรักษา
ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคไข้ซิกาโดยเฉพาะ
รักษาทำได้ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำ
มาก ๆ
รักษาตามอาการ : Paracetamol
ห้ามรับประทาน aspirin หรือ NSAIDs
การพยาบาล
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ควรให้การพยาบาลดังนี้
การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
การดูแลมารดาหลังคลอดให้การดูแลเหมือนมารดาทั่วไป เน้นย้ำการรับประทานอาหารที่มี
โปรตีนและวิตามินสูง
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส (Cytomegalovirus: CMV)
คือ
การติดเชื้อไซโตเมกะโลไวรัส (Cytomegalovirus: CMV)
ปกติมักพบการติดเชื้อในผู้ใหญ่
อาจได้รับเชื้อทางการให้เลือด การสัมผัสทางปาก หรือทางเพศสัมพันธ์
มักได้รับแต่เด็ก และถูกกระตุ้น หรือเมื่อมีการติดเชื้อซ้ำ เชื้อไวรัสแพร่ไปสู่ทารกได้
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อ CMV ติดต่อเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ทารกได้รับเชื้อจากมารดาในระยะตั้งครรภ์ คลอด ระยะให้นม การถ่ายเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะ เพศสัมพันธ์
การหายใจ
(โดยสัมผัสละอองฝอยในอากาศ)
การสัมผัส โดยการสัมผัสน้ำลาย ปัสสาวะ
แหล่งของเชื้อพบได้จากสารคัดหลั่ง :check:
น้ำลาย
ปัสสาวะ
น้ำอสุจิ
ส่วนใหญ่มักจะได้รับเชื้อไวรัสชนิดนี้แล้วตั้งแต่วัยเด็ก
นอกจากบางกลุ่มที่อาจเป็นโรค
Mononucleosis ซึ่งมีอาการไข้สูงเป็นเวลานาน มีตับอักเสบเล็กน้อย
ส่วนใหญ่ การติดเชื้อ CMV ไม่ก่อให้เกิดโรคร้ายแรง
การติดเชื้อ CMV ก่อให้เกิดอาการโรคที่รุนแรงในกลุ่มเสี่ยง
อาการและอาการแสดง
mononucleosis syndrome
ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการ ปอดบวม ตับอักเสบ
และอาการทางสมอง
ตรวจได้จากปัสสาวะภายใน 2 สัปดาห์หลังคลอด
อาการในเด็กทารกมีตั้งแต่อาการอย่างอ่อน ถึงอาการที่รุนแรงทางสมองและระบบประสาท
hepatosplenomegaly
thrombocytopenia
petechiae
microcephaly
chorioretinitis
hepatitis
sensorineural
hearing loss
ผลกระทบต่อสตรีต้งัครรภ์และทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตัง้ครรภ์
ขณะตั้งครรภ์ระบบภูมิคุ้มกันจะลดลง
ไวรัส CMV ที่แฝงตัวอยู่ มีการติดเชื้อซ้ำ
ติด
เชื้อใหม่ในขณะตั้งครรภ์
มีทำให้การดำเนินของ
โรครุนแรงขึ้น
เช่น
Abortion
preterm labor
placenta abruption
chorioamnionitis
ผลกระทบต่อทารก
Fetus: Abortion, IUGR , fetal distress, prematurity, LBW, DFU, still birth
NB: อาจไม่มีอาการแสดงใด จนถึงมีอาการรุนแรง
hepatosplenomegaly
thrombocytopenia,
petechiae
microcephaly
chorioretinitis
hepatitis
sensorineural hearing
loss
การประเมินและการการวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติการติดเชื้อในอดีต ลักษณะของอาการและอาการแสดง
ที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ข้ออักเสบ และตรวจพบอาการ
และอาการแสดงของโรค
LAB
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
• ไม่มีวัคซีนป้องกันโดยตรง ป้องกันโดยการหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มี
การติดเชื้อ
สตรีที่เคยมีประวัติการติดเชื้อ CMV ควรเว้นระยะการมีบุตรอย่าง
น้อย 2 ปี และเข้ารับการให้ค าปรึกษาก่อนการมีบุตร
หลักการป้องกัน : การรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล
สตรีตั้งครรภ์ที่ต้องสัมผัสกับเด็ก ควรสวมถุงมือ และล้างมือด้วยสบู่
การรักษา
ให้ immunoglobulin ของ anticytomegalo viral human
ให้ยาต้านไวรัส : Valtrex, Ganciclovil,
Valavir
ขนาดและปริมาณที่ให้จะขึ้นอยู่กับการป้องกันการ
แพร่กระจายเชื้อไวรัสในระหว่างตั้งครรภ์
ประเมินอาการและอาการแสดงของ NB ที่มีการติดเชื้อ และให้
การดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัต
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรค
แนะนำและเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการป้องกันการแพร่กระจาย
ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal
precaution
ในขณะรอคลอด และขณะคลอด ควรแยกห้องคลอ
•ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ท าความสะอาดร่างกายทันทีหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป
งดให้นมมารดา
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย์
จัดทำโดย นางสาวพลินี จำปา 21A 6201210378 🌈📌🅱️💚🏥🏥😆💊