Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม - Coggle Diagram
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
1.ระบุปัญหา (problem Identification)
นำหลัก5W1H เพื่อหาองค์ประกอบของปัญหาหรือความต้องการ
Where-ปัญหาหรือความต้องการเกิดขึ้นที่ไหน
When-ปัญหาหรือความต้องการเกิดขึ้นเมื่อไหร่
What-ปัญหาหรือความต้องการคืออะไร
Why-ทำไมจึงเกิดปัญหาหรือความต้องการนี้
Who-ปัญหาหรือความต้องการเกิดขึ้นกับใคร
How-ปัญหาหรือความต้องการมีลักษณะอย่างไร
เกิดจากการสังเกตสิ่งรอบตัวและสงสัยใคร่รู้เกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ และต้องการหาวิธีหรือเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหา
4.วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา(Planning and Development)
คือการกำหนดลำดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการตามที่ได้ออกแบบไว้ มีการกำหนดเป้าหมายและเวลาในการดำเนินงาน รวมทั้งผู้รับผิดชอบงานในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน จากนั้นจึงลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการตามที่ได้ออกแบบไว้
2.รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
(Related Information Search)
การสืบค้น รวบรวม และหาความสัมพันธ์ของข้อมูล
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยSearch EngineหรือGoogle Search
รวบรวมข้อมูลที่สืบค้นได้จากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
แหล่งที่ใช้สืบค้นข้อมูล
โปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่ช่วยในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ
การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล
แหล่งข้อมูลและความน่าเชื่อถือของข้อมูล
แหล่งข้อมูลและความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ระดับของข้อมูลสารสนเทศแบ่งได้เป็น3ระดับ
สารสนเทศทุติยภูมิ(secondary Information)
สารสนเทศปฐมภูมิ(Primary Information)
สารสนเทศตติยภูมิ(Teriary Information)
การตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล
เมื่อสามารถระบุปัญหาและวิเคราะห์สถานการณ์จนเข้าใจปัญหาแล้ว ต่อมาทำการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวกับปัญหาโดยกำหนกประเด็นในการสืบค้นเพื่อรวบรวมข้อมูลได้แม่นยำและง่ายขึ้น
3.ออกแบบวิธีแก้ปัญหา(Solution Design)
ปัจจัย ตัวแปร และข้อจำกัดของการออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา
เป็นปัญหาที่อยู่ในระบบเปิดหรือระบบปิด
ตัวแปรและปัจจัยที่ใช้สำหรับการทดลองหรือทดสอบมีโอกาสที่ผลลัพธ์จะเกิดขึ้นได้มาน้อยเพียงใด
ตัวแปรหรือปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อผลลัพธ์ที่ต้องการ
ประสิทธิภาพของเครื่องมือในกระบวนการ
การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
เป็นการกำหนดลำดับขั้นตอนและเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน จากนั้นลงมือแก้ปัญหาตามที่วางแผนไว้
เป็นจุดเริ่มต้นที่จำเป็นที่สุดของการออกแบบคือต้องรู้ขอบเขตของสิ่งที่จะศึกษาว่ามีสาเหตุมาจากอะไร มีอะไรเป็นองค์ประกอบและมีกระบวนการอย่างไร
5.ทดสอบประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
(Testing Evaluation and Design Improvement)
เมื่อได้ชิ้นงานหรือลงมือแก้ปัญหาแล้ว ควรมีการทดสอบว่าชิ้นงานหรือวิธีการที่สร้างขึ้นสามารถใช้งานหรือแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ โดยมีการกำหนดเกณฑ์ในการทดสอบที่สอดคล้องกับขอบเขตการแก้ปัญหาที่เราได้ระบุไว้ในขั้นระบุปัญหา ในกรณีที่ชิ้นงานหรือวิธีการแก้ปัญหายังมีข้อบกพร่องหรือไม่สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ ควรนำผลการทดสอบมาวิเคราะห์ และหาวิธีการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่ตรงตามความต้องการ
6.นำเสนอวิธีการแก้ปัญหาผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
(Presentation)
เป็นการนำเสนอแนวคิดและขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาของชิ้นงาน หรือวิธีการที่สร้างขึ้นตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อให้ผู้อื่นสามารถเห็นภาพและแนวทางการแก้ปัญหา ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นและข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อการพัฒนาต่อยอดในอนาคต
เนื้อหาภายใน
-ชื่อเรื่อง
-บทคัดย่อ
-วัตถุประสงค์
-วิธีการดำเนินงาน
-สรุปผล
-ประโยชน์ที่ได้รับ