Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาการในแต่ละวัย - Coggle Diagram
การพัฒนาการในแต่ละวัย
วัยผู้ใหญ
จิตใจ
เป็นวัยที่มีความมั่นคงในอารมณ์ ไม่แปรปรวนง่าย ควบคุมอารมณ์และ
สามารถแสดงพฤติกรรมตอบสนองอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์
สังคม
พัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์จะเจริญสูงสุดเต็มที่เมื่ออายุ 25 ปี จากนั้นจะเริ่ม ลดลง แต่ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่สะสมไว้ในช่วงอายุ 30-40 ปีที่ผ่านมาจะเข้ามาทดแทน จึง เป็นช่วงที่บุคคลมีความสามารถสร้างสรรค์งานได้
ร่างกาย
เป็นวัยที่มีความเจริญเติบโตสมบูรณ์สูงสุด ซึ่งอยู่ระหว่างอายุ 20-25 ปี จากนั้นจะ คงที่และเริ่มค่อย ๆ เสื่อมลงเมื่ออายุประมาณ 30 ปี
-
วัยรุ่น
จิตใจ
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายที่รวดเร็วและชัดเจนในด้านน้ำหนักและ ส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น เริ่มแสดงสัดส่วนของความเป็นผู้ใหญ่ มีการเปลี่ยนแปลงและ แสดงถึงสัญลักษณ์ทางเพศ (Sex Characteristics) อย่างชัดเจน
สังคม
ในวัยนี้มักจะมีการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเปิดเผย มีความรู้สึกที่ค่อนข้าง รุนแรง แปรปรวนง่าย มีปัญหาขัดแย้งในจิตใจตัวเองเสมอ ๆ
ร่างกาย
บุคคลอายุอยู่ในช่วง 12 – 25 ปีถือว่าอยู่ในช่วงวัยรุ่น ช่วงเวลาดังกล่าวมีเวลายาวนาน หลายปีและในระยะเวลานนั้มีการเปล่ียนแปลงอย่างแตกต่างกันมากท้ังทางกายและ พฤติกรรม จึงมีการแบ่งช่วงเวลาให้สั้นเข้าคือ
สติปัญญา
วัยนี้มีพัฒนาทางการสติปัญญาที่รวดเร็วและมีความก้าวหน้าใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ แตกต่างกันที่ความสุขุมรอบคอบและประสบการณ์ที่น้อยกว่าเท่านั้น วัยรุ่นจะ สามารถคิดแก้ปัญหาได้อย่างมีระบบ สามารถแสวงหาเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วัยชรา
-
-
สติปัญา
ในวัยนี้เซลล์สมองจะเสื่อมลง ถ้าสมองขาดการบ้ารุงและส่งเสริมการใช้งานที่ เหมาะสมแล้ว บางรายอาจประสบปัญหาโรคสมองฝ่อ
ร่างกาย
ภายนอกผิวหนังจะเหี่ยวย่น ผิวหนังแตกแห้ง เส้นเลือดฝอยแตกง่าย ผมและขนเริ่ม เปล่ียนเป็นสีขาวและหลุดร่วงง่าย กล้ามเน้ือลีบลง ร่างกายฟ้ืน
วัยทารก
จิตใจ
อารมณ์ของเด็กในวัยนี้ เปลี่ยนแปลงง่ายรวดเร็วขึ้นอยู่กับสิ่งเร้า
- อารมณ์โกรธ มีมากกว่าอารมณ์อื่นๆ
-
-
ร่างกาย
มีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านโครงสร้างของร่างกายและการรู้จักใช้อวัยวะต่างๆอย่างรวดเร็ว ศรีษะที่ โตค่อยๆ ดูเล็กลง ล้าตัวและขาดูยาวใหญ่ขึ้น โครงกระดูกเจริญเติบโตรวดเร็ว แขนและขาจึงแข็งแรงขึ้น
วัยก่อนเรียน
ร่างกาย
พัฒนาการทางกายในวัยเด็กตอนต้นยังเป็นไปแบบเจริญเติบโตเพื่อให้ท้างานเตม็ ที่ แต่อัตราแปรเปลี่ยนค่อนข้างช้าเมื่อเทียบกับระยะวัยทารก น้้าหนักและส่วนสูงยังคง เพิ่มขึ้นแต่ไม่เพิ่มมากนัก สัดส่วนของร่างกายจะค่อยๆ เปลี่ยนไป
จิตใจ
เด็กในวัยนี้ จะมีอารมณ์หงุดหงิดง่ายกว่าเด็กในวัยทารก ดื้อรั้นเอาแต่ใจตัวเอง เจ้า
อารมณ์ ทั้งนี้เพราะอยู่ในวัยช่างปฏิเสธ
-
สติปัญา
ความนึกคิดเกี่ยวกับอะไรถูก ผิด ชั่ว นั้น เด็กยังคิดเห็นเป็นเหตุผลด้วย ตนเองไม่ได้ ยังต้องอาศัยผู้อบรมเลี้ยงดูให้ค้าแนะน้า
วัยเรียน
จิตใจ
ในระยะนี้ เด็กรู้จักกลัวสิ่งที่สมเหตุสมผลมากกว่าวัยก่อน เพราะความสามารถใน การใช้เหตุผลของเด็กพัฒนาขึ้น มีความรู้สึกสงสารและเห็นอกเห็นใจ เข้าใจอารมณ์ ความรู้สึกของบุคคลอื่น
สังคม
ที่เด่นชัด คือ เด็กเริ่มออกจากบ้าน ไปสู่หน่วยสังคมอื่น จุดศูนย์กลางสังคมของ เด็กคือ โรงเรียน เด็กจะเรียนรู้บทบาทใหม่คือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มเพื่อนรุ่นราว คราวเดียวกัน เป็นโลกของเพื่อนร่วมวัย
ร่างกาย
พัฒนาการของเด็กวัย 6 ถึง 12 ขวบ เป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ช้าๆ แต่สม่้าเสมอ พัฒนาการทางการไม่มีลักษณะเด่นพิเศษเหมือนระยะวัยทารกตอนปลาย
สติปัญา
เข้าใจว่าวัตถุแม้เปลี่ยนแปลงรูปลักษณะภายนอก ก็ยังคงสภาพเดิม (Conservation) ในบ้างลักษณะเช่น ปริมาณ น้้าหนัก และปริมาตร
-
-
-
-
-