Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยุทธศาสตร์หลักของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) - Coggle Diagram
ยุทธศาสตร์หลักของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579)
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
เป้าหมาย
คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
แนวทางการพัฒนา
พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครอง ระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ยุทธศาสตร์ที่๒ การผลิตและพัฒนากำลังคน การทำวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขังของประเทศ
เป้าหมาย
กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
แนวทางการพัฒนา
ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่าง
เหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย
เป้าหมาย
คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา
เป้าหมาย
ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย
แนวทางการพัฒนา
เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตาม หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดำเนินชีวำ
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
เป้าหมาย
โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้
ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา
แนวทางการพัฒนา
ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา