Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์, ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดาหลังคลอด,…
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
Hepatitis B virus
พยาธิสรีรภาพ
ระยะแรก :เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ผู้ที่ได้รับ
เชื้อจะยังไม่มีอาการแสดงของการได้รับเชื้อ
ระยะที่สอง : ผู้ติดเชื้อจะมีอาการอ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด คลื่นไส้อาเจียน
ระยะที่สาม :อาการตับอักเสบจะค่อย ๆ ดีขึ้น ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน และเข้าสู่ระยะโรคสงบ
ระยะที่สี่ :เป็นระยะที่เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ ทำให้เกิดการ อักเสบของตับขึ้นมาอีก
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา คลำพบตับโต
กดเจ็บ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของ Hepatitis B virusจะไม่เสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
หากมีการติดเชื้อ Hepatitis B virus ในไตรมาสที่ 3
ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ทารกตายในครรภ์ หรือเสียชีวิตแรกเกิด และทารกที่คลอดมา มีโอกาสที่จะติดเชื้อได
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg
การประเมินและการวินิจฉัย
การเป็นพาหะของโรคตับอักเสบจากไวรัสบี
พบอาการและอาการแสดง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวเหลือง
ตรวจการทำงานของตับ และตรวจหา antigen และ antibody
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำ และการตรวจทางช่องคลอดเพื่อป้องกันถุงน้ำคร่ำแตก
ระยะหลังคลอด
แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
COVID-19 during Pregnancy
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้
รักษาระยะห่าง social distancing
เน้นย้ำให้สตรีตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามนัดได้ตามปกติ
กรณีเจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบว่าตนเองอยู่ระหว่างการเฝ้าระวัง 14 วัน
กรณีครบกำหนดนัดฝากครรภ์ ต้องแจ้งพยาบาลผดุงครรภ์ให้ทราบว่าตนเองอยู่ระหว่างการ
เฝ้าระวัง 14 วัน
แยกตนเองออกจากครอบครัว และสังเกตอาการจนครบ 14 วัน
แนวทางการปฏิบัติในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เมื่อคำนึงถึงประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ COVID-19 จัดเป็นผู้มีความเสี่ยง จะต้องมีการแยกตัวออกจากผู้อื่น
อาการและอาการแสดง
มีไข้ในการป่วยครั้งนี้ร่วมกับมีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ
ไอ น้ามูก เจ็บคอ หายใจติดขัด หรือหายใจลำบาก
ผลกระทบต่อการสตรีตั้งครรภ์และทารก
สตรีตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก
ทารกในครรภ์พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกำหนด การติดเชื้อ COVID-19 ของทารกแรกเกิด
การประเมินและการวินิจฉัย
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ
มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้ง หายใจ
ติดขัด อาจมีคัดจมูก มีน้ามูก
การตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
ตรวจหา viralnucleic acid ด้วยวิธี real-time polymerase chain reaction (RT-PCR) จากสารคัดหลั่ง
การตรวจเอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องอก
แนวทางการรักษา
เน้นให้บุคลากรใส่ชุด PPE การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในรพ.และไปกับรถพยาบาล บุคลากรต้องใส่ full PPE
ถ้ามีไข้ ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
ไม่ให้ออกซิเจนทาง face mask
On EFM ถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ให้ magnesium sulfate สำหรับ neuroprotection ได้
หลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด
สุกใส
อาการและอาการแสดง
มักจะมีไข้ต่ำ ๆ นำมาก่อนประมาณ 1-2 วันแล้วค่อยมีผื่นขึ้น ลักษณะของผื่น และตุ่ม มักจะขึ้นตามไรผม
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกันโดยไม่สัมผัสโรค หลีกเลี่ยงคนที่ป่วยเป็นสุกใส
การรักษาแบบประคับประคอง เพื่อบรรเทาอาการ
การใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใส Acyclovir
การประเมินและการวินิจฉัย
มีไข้มีผื่นตุ่มน้ำใสตามไรผม ตุ่มน้ำใสๆ บนฐานสีแดง
การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM
การสัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใส
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อโรคมีระยะฟักตัวนาน 10-20 วัน ใน
กรณีที่โรคสุกใสเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอดซึ่งเกิดจากการติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะก่อนตั้งครรภ์
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค โดยการใช้หลัก universal precaution
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันที
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว บางรายอาจจะมีอาการทางสมอง ทำให้ซึมลง
การติดเชื้อในครรภ์ : อาจทำให้ทารกเกิดความพิการก่อนกำเนิดได้
การติดเชื้อปริกำเนิด :อัตราเสียชีวิตของทารกที่ติดเชื้อในนี้สูงถึงร้อยละ 20-30
การติดเชื้อโปรโตซัว
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
การแท้ง คลอดก่อนกำเนิด ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ไข้ชัก ทารกหัวบาตร microcephaly
การประเมินและการวินิจฉัย
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค
การตรวจร่างกาย มักไม่แสดงอาการ
การตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก
ถ้าพบ IgM ในมารดา อนุมานว่ามีการติดเชื้อ และรักษาด้วย spiramycin
การพยาบาล
ระยะคลอด
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันทีจากนั้นป้ายตาด้วย 1% tetracycline ointment
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
ติดตามผลการตรวจเลือด
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา
Zika
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตาม
ตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
การพยาบาล
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป ทั้งนี้ให้ยึดหลัก universal
precaution เมื่อทารกคลอด
ตรวจร่างกายทารกแรกเกิด
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติอาการของผู้ป่วย
มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ
โดยใช้สิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ น้ำลาย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ และบางการศึกษาพบผื่นหลังคลอด อาการอื่น ๆ ที่พบ คือ อาการไข้ หนาวสั่นรู้สึกไม่สุขสบาย
ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาท ตาและการมองเห็น ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา ระบบเฝ้าระวังทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด และระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาท
รักษาทำได้ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ
ดื่มน้ำมาก ๆ และรักษาตามอาการ
หัดเยอรมัน
พยาธิสรีรภาพ
กลุ่มไม่มีอาการทางคลินิก โดยกลุ่มนี้จะตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อหัดเยอรมันอย่างเดียว
กลุ่มที่มีอาการทางคลินิก คือมีผื่นที่ใบหน้า ลามไปที่ลำตัวและแขนขา
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงได้แก่ มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อน้ำเหลืองบริเวณหลังหูโต
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
อาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อย
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว เช่น ตับม้ามโต ตัวเหลือง
ความผิดปกติถาวร ได้แก่ หูหนวก หัวใจพิการ
การประเมินและการวินิจฉัย
การสัมผัสผู้ติดเชื้อหัดเยอรมัน
อาจพบผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง
ตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI)
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกันเนื่องจากเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง
การพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมัน
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส
พยาธิสรีรภาพ
ทารกได้รับเชื้อจากมารดานครรภ์ในระยะคลอด ในระยะให้นม การถ่ายเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะ เพศสัมพันธ์ทางหายใจ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด มีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะ IUGR แท้ง fetal distress คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ และตายคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติ เพื่อคัดกรองสตรีตั้งครรภ์
ระยะคลอด
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ระยะหลังคลอด
งดให้นมมารดา
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย์
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนาน ปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการ
ปอดบวม ตับอักเสบ
การประเมินและการการวินิจฉัย
ประวัติการติดเชื้อในอดีต
มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ข้ออักเสบ
การเจาะเลือดส่งตรวจพบ Atypical Lymphocytes
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
วัคซีนที่ให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อ CMV
การให้ immunoglobulin
การให้ยาต้านไวรัส
hepatitis A virus: HAV
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และ ปวดศีรษะ
การป้องกันและการรักษา
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อ HAV ให้หายได้อย่างเด็ดขาด ส่วนใหญ่เป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ
มาตรวจตามนัดเพื่อประเมินสภาวะของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การสัมผัสเชื้อโรค
ตรวจพบลักษณะอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ HAV
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจหา antibody-HAV และ IgM-anti HAV
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
หากมีการติดเชื้อ HAV ขณะตั้งครรภ์นั้น ร่างกายมารดาจะสร้าง antibody ต่อเชื้อ HAV ซึ่งสามารถผ่านไปยังทารกในครรภ์ได้
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดาหลังคลอด
ก่อนเริ่มกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเตรียมนมและการปั๊มนม
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70% ขึ้นไป
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทำกิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมนม