Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมการวิจัย - Coggle Diagram
จริยธรรมการวิจัย
-
-
จรรยาบรรณนักวิจัย
- นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ
- นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัยตามข้อตกลง
- นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำวิจัยอย่างเพียงพอ
- นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษา
- นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
- นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย
- นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
- นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
- นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
-
-
-
การวิจัย คือ การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ความจริงอย่างมีระบบ ตามระเบียบแบบแผนและวิธีการวิจัยที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละศาสตร์
นักวิจัย คือ ผู้ใช้ความรู้ทางวิชาการและวิชาชีพดำเนินการศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบและตามระเบียบแบบแผนวิธีการวิจัย
-
แนวทางปฏิบัติคือ แนวทางพื้นฐานในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัย ที่ถือเป็นแบบอย่างที่ดีที่สมควรยึดถือปฏิบัติ
มาตรฐานวิชาชีพวิจัย คือ ลักษณะที่ดีหรือที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบวิชาชีพวิจัยในศาสตร์และสาขาวิชาต่าง ๆ
-
จริยธรรมการวิจัยในคน คือ ประมวลหลักประพฤติปฏิบัติที่ดีที่นักวิจัยควรยึดถือในการวิจัยเกี่ยวกับคน การประพฤติผิดจรรยาวิชาชีพวิจัย คือ การกระทำผิด หรือการละเมิด ฝ่าฝืน
การปลอมแปลงข้อมูล คือ การปกปิด บิดเบือน หรือทำให้ผิดไปจากความจริง
การสร้างข้อมูลเท็จหรือการเสกสรรปั้นแต่ง คือ การสร้างข้อมูลเท็จ
การคัดลอกผลงาน หรือแอบอ้างความคิดเห็นของผู้อื่นมาเป็นของตน
การคัดลอกผลงานของตนเอง คือ การคัดลอกหรือน าผลงานที่เหมือนเดิมหรือเกือบเหมือนเดิมของตนเองกลับมาใช้อีกครั้งโดยไม่มีการอ้างอิง หรือการลอกเลียนวรรณกรรมคือ การนำแนวคิด งานหรือผลงานของผู้อื่นไปใช้เสมือนว่าเป็นของตน โดยไม่มีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาหรือให้เกียรติเจ้าของเดิมหรือปกปิดข้อความจริง
ปฏิญญาเฮลซิงกิ(Declaration of Helsinki)
โดยมีการระบุแนวทางจริยธรรมสาหรับแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ทั้งด้านที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยทั้งทางคลินิกและงานวิจัยที่ไม่ใช่ทางคลินิก