Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ประโยคสำนวนโวหารและระดับภาษา, นางสาวเจนจิรา เกตุจำรูญ 6422040036 -…
การใช้ประโยคสำนวนโวหารและระดับภาษา
ประโยคสามัญ ประกอบด้วยวลี2ชนิดคือ นามวลีทำหน้าที่ประธาน ไม่ต้องมีประโยคย่อยเป็นส่วนขยาย ไม่ต้องมีคำเชื่อมกริยาวลี แบ่งเป็น2ชนิด
ประโยคสามัญที่มีกริยาวลีเดียว คือประโญคสามัญที่มีเพียง1วลีในกริยาวลีมีคำกริยาเพียงคำเดียว
ประโยคสามัญที่มีหลายกริยา ทำหน้าที่แสดงภาคประธานเดียวกัน หรือประธานต่างกันก็ได้ แต่ในกริยาวลีจะต้องไม่มีคำเชื่อม
ประโยคซ้อน คือประโยคที่ประกอบด้วย
ประโยคหลักและโปรโยคย่อย จำแนกได้3ชนิด
1.ประโยคซ้อนที่มีมานานุประโยค ทำหน้าที่เหมือนนามวลีอาจทำหน้าที่ประธาน กรรม หน่วยเติมเต็ม จะมีคำเชื่อม ที่ ที่ว่า ให้ ทำหน้า
2.ประโยคซ้อนที่มีคุณานุประโยค ทำหน้าที่ขยายนาม จะมีคำว่า ที่ ซึ่ง อัน และ เป็นคำเชื่อมของคุณานุประโยค
3.ประโยคซ็อนที่มีวิเศษณานุประโยค ทำหน้าที่อย่างวิเศษณ์วลีคือ ขยายกริยาวลี
ประโยคตามเจตนา เป็นสิ่งที่มนุษย์
ใช้สื่อสารความคิด ความรู้สึก และความต้องการ
1.ประโยคบอกให้ทราบ
คือประโยคที่ผู้พูดสื่อสิ่งที่ต้องการบอก
2.ประโยคสั่ง เป็นประโยคที่
แสดงให้ผู้ฟังทำตาม
3.ประโยคเสนอแนะ
ผู้พูดสื่อถึงการแนะนำหรือบอกข้อเสนอ
4.ประโยคห้าม
ผู้ พูดสื่อบอก ให้หยุดทำหรือห้าม เช่น อย่า
5.ประโยคชักชวน
ชวนให้ผู้ฟังคิดตามหรือทำตาม
6.ประโยคขู่ มีเจตนาให้ผู้ฟังกลัว
7.ประโยคขอร้อง มีเจตนาให้ผู้ฟังช่วยทำสิ่งต่างๆ
8.ประโยคคาดคะเน
มีเจตนาในการคาดคะเดคาดหมาย
9.ประโยคถาม มีเจตนาถามผู้ฟัง
ประโยครวม คือมีตั้งแต่2ประโยคขึ้นไปมารวมกันเป็นประโยคเดียวและต้องมีคำเชื่อมสมภาค และ ละก็ แต่ ทว่า แต่ทว่า
สำนวนโวหาร คือการใช่ภาษาที่กะทัดรัด เน้นสาระสำคัญและความชัดเจนมักใช้ในการเล่าเรื่อง
1.พรรณนาโวหาร คือการใช้ถ้อยคำเพื่อนำเสนอภาพเหตุการณ์ต่างๆ
2.เทศนาโวหาร เป็นการใช้ถ้อยคำเพื่อโน้มน้าวใจผู้ฟัง
3.สาธกโวหาร เป็นการถ้อยคำ
เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น โดยการยกตัวอย่างเช่นนิทาน
4.อุปมาโวหาร เป็นการใช้ถ้อยคำภาษาที่แสดงการเปรียบเทียบ
ระดับภาษา
1.ระดับพิธีการ เป็นระดับที่ใช้ในสถานการณ์ที่มีความเป็นทางการสูง มีการลำดับพิธีการอย่างชัดเจนทุกขั้นตอน
2.ระดับทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในสถานการณืที่เป็นทางการ ทั้งการพูดการบรรยายหรือการประชุม
3.ระดับกึ่งทางการ มีลักษณะที่คล้ายกับทางการ แต่ลดความเคร่งครัดและความเป็นทางการลง
4.ระดับไม่เป็นทางการ จะใช้ในการโต้ตอบบทสนทนาในกลุ่มที่มีจำนวน4-5คน ในสถานที่ที่ส่วนตัว
5.ระดับกันเอง เป็นการใช้สนทนาเฉพาะกลุ่มที่มีความสนิทสนมกัน
ปัจจัยที่กำหนดระดับภาษา
1.โอกาสและสถานที่
2.ลักษณะของเนื้อหา ควรคำนึกถึงความสอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์การสื่อสาร
3.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
นางสาวเจนจิรา เกตุจำรูญ 6422040036