Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายด้านการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย, นางสาวอติกานต์ ชิวอ …
นโยบายด้านการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
นโยบายสวัสดิการ
นโยบายสวัสดิการในฐานะเป็นด้านหนึ่งของนโยบายทางสังคม นโยบายสาธารณะด้านสวัสดิการ
เป็นด้านหนึ่งในหกด้านของนโยบายทางสังคม ซึ่งนโยบายทางสังคมมี 6 ด้าน
นโยบายด้านความยุติธรรมในสังคม (Social Justice)
นโยบายด้านศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในสังคม (Social Dignity)
นโยบายด้านความมั่นคงทางสังคม (Social Security)
นโยบายด้านสิทธิพื้นฐานทางสังคม (Social Basic Right)
นโยบายด้านการสร้างทุนทางสังคม (Social Capital Building)
นโยบายการมีส่วนร่วมจากคนในสังคม หรือการเป็นหุ้นทางสังคม (Social Partnership)
นโยบายสวัสดิการและนโยบายทางสังคมหกด้านเป็นจริง มี
อยู่ 3 แนวทางคือ
การรวมกลุ่มร่วมด้วยช่วยกันนี้เป็นสิ่งที่ท าได้เลย ไม่ตองรอนโยบายจากรัฐบาล
การรวมกลุ่มต่อรองทักทวง ทวงสิทธิในฐานะที่เป็นพลเมืองเป็นหุ้นส่วนทางสังคม เป็นลูกจ้าง เป็นผู้บริโภค และเป็นผู้ท าการผลิต การต่อรอง ทักทวง ทวงสิทธิ เป็นไปตามเงื่อนไขของแต่ละกลุ่มบุคคลและแต่ละสถานการณ์
การจัดทัพขับเคลื่อนผลักดันนโยบายสาธารณะแห่งรัฐแนวทางนี้จะต้องผ่านขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมความคิดร่วมพลังไปสู่จัดทัพขับเคลื่อน
นโยบายด้านการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
รัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (พ.ศ. 2544 - 2548 )
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตร 30 บาท รักษาทุกโรค)
นโยบายการพักชำระหนี้ให้กับเกษตรกร รายย่อย 3ปี
รัฐบาลพันต ารวจโท ทักษิณ ชินวัตร วาระ ที่สอง (พ.ศ. 2548 – 2549)
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตร 30 บาท รักษาทุกโรค)
นโยบายโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
รัฐบาลพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ (พ.ศ.2549- 2551)
นโยบายรักษาฟรีทุกโรค
รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช พ.ศ.2551 - นโยบายรถไฟ
รถเมล์ฟรี- นโยบายเรียนฟรี 12 ปี
รัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ.ศ.2551
นโยบายรถไฟ
รถเมล์ฟรี
นโยบายเรียนฟรี 12 ปี
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (พ.ศ. 2551 - 2554)
นโยบายเรียนฟรี 15 ปี
รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (พ.ศ. 2554 - 2557)
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตร 30 บาท รักษาทุกโรค)
นโยบายเรียนฟรี 15 ปี8. รัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) (พ.ศ. 2557-ในปัจจุบัน)
นโยบายบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
การเปลี่ยนแปลงของการดำเนินนโยบาย ด้านการจัดสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
รัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (พ.ศ. 2544 - 2548)
นโยบายสาธารณะ ปี 2544 – 2548 มี 16 นโยบายที่สื่อสารกับประชาชน นโยบายที่รัฐบาลนายกฯ ทักษิณ ช่วงปี2544 – 2548 น าไปพูดผ่านรายการวิทยุฯ รายการ โทรทัศน์ และถูกนำไปขยายผลผ่านสื่อต่าง ๆ
เริ่มดำเนินกลยุทธ์ประชาสัมพันธ์ถึงผลงานและความสำเร็จช่วงปี2545หลังจากเข้าบริหารประเทศไปได้ระยะหนึ่ง รัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้มีการดำเนินการประชาสัมพันธ์ถึงผลการดำเนินงานโดยจัดพิมพ์เป็นแผ่นพับใน เรื่องประชาชนได้อะไรจากการบริหารบ้านเมืองของรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง แนวทางการบริหารประเทศของรัฐบาลที่ถือประชาชนเป็นศูนย์กลางรัฐบาลได้บริหารประเทศด้วยการสร้างสมดุลระหว่างเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศด้วยการสร้างความแข็งแกร่งของฐานเศรษฐกิจระดับชาวบ้านหรือ “รากหญ้า” ให้เข้มแข็ง โดยอาศัยเม็ดเงินที่ใช้จ่ายภายในประเทศแก้ปัญหาความยากจนด้วยการให้โอกาสและลดภาระแก่ประชาชน
การพักชำระหนี้การลดภาระของประชาชนซึ่งเป็นขบวนการหนึ่งของการขจัดความยากจนและลด ช่องว่างของคนในสังคม รัฐบาลจึงได้ด าเนินการ ตามแนวนโยบายพื้นฐานด้วยการพักช าระหนี้ให้แก่พี่น้องประชาชนการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยที่มีฐานะยากจนและประสบปัญหาด้านหนี้สินให้ได้รับการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้เป็นเวลา 3 ปีเพื่อให้เกษตรกรรายย่อยได้มีโอกาสพักฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ
สนับสนุนผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs)โครงการอีกโครงการหนึ่งที่ต่อยอดจากหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือเศรษฐกิจชุมชน
ปี2546 จะต้องดีกว่าปี 2545 การบริหารบ้านเมืองของรัฐบาล2 ปีที่ ผ่านมาใช้วิธีการด าเนินการที่แตกต่าง และไม่ เหมือนกับแนวทางเศรษฐกิจที่เคยใช้กันอยู่เป็นการแก้ปัญหาความยากจนและยืนอยู่บนล าแข้งของตัวเองมากที่สุดเร่งการส่งออกและสนับสนุนผู้ประกอบการอย่างเต็มที่กระจายเม็ดเงินลงสู่ชนบท
รัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร วาระที่สอง (พ.ศ.2548 – 2549)
โครงการ สามสิบบาทรักษาทุกโรค บัตรทอง 30 บาท คือบัตรประกันสุขภาพที่ ให้สิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ผู้ที่ถือบัตร ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลได้เป็นอย่างดี จึงได้รับการตอบรับจากผู้คนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะบุคคลที่มีฐานะระดับยากจนไปจนถึงปานกลาง
โครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยเป็นเวลา 3 ปีปัจจุบันเกษตรกรซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศมีฐานะยากจนและมีปัญหาด้านหนี้สิน โดยกลุ่มที่มีปัญหามากที่สุดและเป็นคนส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้คือ เกษตรกรรายย่อย
รัฐบาลพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ (พ.ศ. 2549 - 2551)
พล.อ.สุรยุทธ์จุลานนท์ (ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 29 มกราคม พ.ศ. 2551)ซึ่งด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรีภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร19 กันยายน พ.ศ. 2549 นโยบายของรัฐบาลมีจุดมุ่งหมายสำคัญในการที่จะธ ารงพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์มิให้ผู้ใดล่วงละเมิดได้และมุ่งประสงค์จะแก้ไขปัญหาวิกฤติของประเทศทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การต่างประเทศและความมั่นคงของชาติเพื่อนำไปสู่เสถียรภาพและประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทยทั้งมวล
รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช พ.ศ.2551
สร้างระบบประกันความเสี่ยงให้เกษตรกรเพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากผลกระทบความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และ สร้างกลไกในการสร้างเสถียรภาพราคาของสินค้าเกษตรที่เป็นธรรม
พักหนี้ของเกษตรกรรายย่อย และ ยากจนที่ผ่านกระบวนการจัดทำแผน ฟื้นฟูอาชีพเพื่อสร้างโอกาสให้เกษตรกร สามารถยกระดับ คุณภาพชีวิตด้วยการสร้างรายได้และอาชีพที่มั่นคง
สร้างโอกาสให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยอย่างทั่วถึง เช่น โครงการบ้านเอื้ออาทรบ้านรัฐ สวัสดิการและที่อยู่อาศัยของตนเอง
รัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ.ศ. 2551
นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รัฐบาลชุดนี้ให้ความส าคัญต่อการแก้ไขความขัดแย้งทางการเมืองที่มีอยู่ในสังคมโดยยึดทางสายกลางจึงมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหา โดยการรับฟังความคิดเห็นจากทุกคนและสร้างความเห็นร่วมกันในเรื่องแนวทางแก้ไขปัญหาตลอดจนสนับสนุนกระบวนการยุติธรรมให้ท างานอย่างอิสระและเป็นกลไกตัดสินข้อขัดแย้งซึ่งได้เข้าสู่กระบวนการตามกฎหมาย
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (พ.ศ. 2551 - 2554)
สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ ผู้สูงอายุ ที่มีรายได้ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ หรือไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป
ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อ.ส.ม.) ทั่วประเทศให้ปฏิบัติงานเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพในท้องถิ่น และชุมชน การดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการการ ดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล และการเฝ้าระวังโรคในชุมชนโดยจัดให้มีสวัสดิการค่าตอบแทนให้แก่ อ.ส.ม.เพื่อสร้างแรงจูงใจหนุนเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
รักษาฟรีคนยากจน เด็ก ผู้สูงอายุ ประกันสุขภาพทั้งครอบครัว 500 บาทต่อปี
สร้างระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประกอบด้วย ระบบรางทั้งบนดินและใต้ดิน ระบบรถเมล์ด่วน BRT ระบบรถเมล์ (ขสมก.) และระบบรถเมล์เล็กที่เชื่อมโยงกันเพื่อการขนผู้โดยสารอย่างเป็นระบบที่สะดวกรวดเร็วและทันสมัย
สร้างท่าเรือน้ำลึกฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อเชื่อมประเทศไทยกับอินเดีย กลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง
โครงการสะพานเศรษฐกิจ (Land Bridge) ในภาคใต้เชื่อมอ่าวไทยและอันดามัน
เดินหน้าด้านการศึกษา นอกจากเรื่องเรียนฟรีที่ได้ท าไปแล้วก็จะยกระดับคุณภาพของโรงเรียนและปรับปรุงห้องสมุด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางของการปฏิรูปการศึกษา
เรื่องของการสาธารณสุข ยกระดับสถานีอนามัยมาเป็นโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพระดับตำบลทั่วประเทศ
รถเมล์รถไฟกระทรวงคมนาคมก็เดินหน้าในการสานต่อในเรื่องของโครงการที่ให้บริการฟรี
การสร้างหลักประกัน โครงการประกันรายได้ให้เกษตรกร
นโยบายเรียนฟรี15 ปีคือ จะฟรีตั้งแต่อนุบาลจนถึงขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
นางสาวอติกานต์ ชิวอ 611702005 AB บทที 5