Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ และสารพิษ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ และสารพิษ
อุบัติเหตุ (accident)
หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างม่ได้ตั้งใจ ไม่คาดคิดมาก่อน ความบังเอิน และจากความประมาท ก่อให้เกิดความเสียเสียหายทั้งร่างกายและจิตใจเป็นสาเหตุของการตาย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
เด็ก
ผู้เลี้ยงดู
สิ่งแวดล้อม
อุบัติเหตุในแต้ละช่วงไว
แรกเกิด - 3เดือน
หายใจไม่ออก ท่านอนคว่ำ หน้าจมลงหมอน ควร จัดท่านอนตะแคงหน้า
แขนคอ ขาคอ ศีรษะติดซี่ลูกกรง ควรใช้เตียงที่มีลูกกรงซี่ถี่ๆ
สำลักน้ำนม ควร จัดท่านอนศีรษะสูงเวลาให้นมและขนาดรูของจุกนมเหมาะสม
3 เดือน - 12 เดือน
ตกจากที่สูง รถหัดเดิน เตียง บันได ควร มีไม้กั้นเตียง บันได ไม่ใช้รถหัดเดิน
หยิบของเล่นเข้าปาก สิ่งแปลกปลอมติดคอ จมูก รูหู ควรให้เล่นของเล่นขนาดใหญ่ ของชิ้นเล็กเก็บเก็บให้พ้นมือเด็ก
รับประทานสารพิษ ควร เก็บสารเคมีให้พ้นมือเด็ก
1-3 ปี
พลัดตกจากการเดิน วิ่ง ปีน ป่าย ควรจัดพื้นที่ให้ปลอดภัย ไม่ปล่อยให้เด็กเล่นตามลำพัง
จมน้ำในอ่างอาบน้ำ ควรจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
ไฟฟ้าดูด น้ำร้อนลวก ควรย้ายปลั๊กไฟให้สูง
3-6 ปี (วัยก่อนเรียน)
ติดในรถยนต์ ตู้ ห้องเก็บของ ควรปิดรถยนต์ และตรวจสอบให้ดีว่าไม่มีเด็กอยู่ในรถ
อุบัติเหตุจราจร ควร สอนกฎจราจรพื้นฐานง่ายๆให้เด็กรู้
ตกจากที่สูง ไม่ให้เด็กปีนป่ายที่สูง
6 - 12 ปี
บาดเจ็บจากประทัด ดอกไม้ไฟ ปืน ควรเลือกของเล่นที่ปลอดภัยให้กับเด็ก
การเล่นกีฬา ควรฝึกทักษะการเล่นกีฬาที่ปลอดภัย ไม่ปีนป่ายที่สูง สอนเด็กให้รู้จักระมัดระวังตนเอง
หลักการป้องกันเด็กจาการใช้รถและการจราจร
ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่คนเดียว
ไม่อุ้เด็กไว้ที่ตักขณะขับรถ
สอนทักษะข้ามถนนเมื่ออายุ 5 ปีขึ้นไป
ห้ามเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี โดยสารจักรยานยนต์ และเด็กที่โดยสารรถจักรยานยนต้องสวมหมวกกันน็อค
ไม่อนุญาตให้เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ขับรถจักยานยนต์
Physical abuse (การทำร้าย)
ภาวะที่เด็กได้รับผลกระทบทางร่างกายและจิตใจจากการถูกทำร้ายอย่างตั้งใจโดยผู้อื่น
ลักษะของเด็กที่ถูกทำร้าย
ขาดการดูแลที่ดี
เด็กกลุ่มเสี่ยง เช่น พิการ เจ็บป่วยเรื้อรัง ระดับสติปัญญาต่ำ
พฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น ก้าวร้าว ชอบลักขโมย
พฤติกรรมซึมเศร้า
ปัญหาทางการเรียน
การรักษาเเละการป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำ
ควรรับเด็กไว้รักษาใน ร.พ. ก่อน
การบันทึกลักษณะการระบาดเจ็บอย่างละเอียด ระวังการถูกทำร้ายซ้ำ
ให้ฝากเลี้ยงกับบุคคลที่วางใจได้
สถานรับเลี้ยงเด็กมีกล้องวงจรปิด
การประเมินผู้เลี้ยงดูก่อนส่งกลับ
แผลจากความร้อน (Burn)
การบาดเจ็บจากการถูกทำลายด้วยความร้อน สารเคมี กระแสไฟฟ้า หรือ รังสี
ความรุนแรง ขึ้นกับความลึกของชั้นผิวหนัง ความกว้าง บาดแผล ตำแหน่ง อายุของเด็ก และการบาดเจ็บร่วมในตำแหน่งอื่นๆ
ความลึกของแผลไหม้ (Depth of burn)
1.First degree burn การทำลายเฉพาะชั้นหนังกำพร้า ผิวหนังบริเวณนั้นจะเป็นสีชมพูหรือสีแดง มีความนุ่ม ไม่มีตุ่มพอง มีอาการปวดแสบ แผลหายเองได้ใน 3-5 วัน
2.Second degree burn
SPT มีการทำลายของหนังกำพร้าทั้งหมดและบางส่วนของหนังแท้ ผิวจะมีสีแดง มีตุ่มพอง ปวดแสบมาก แผลจะหายใน 7-14 วัน
DPT มีการทำลายของหนังกำพร้าทั้งหมด และส่วนมากของหนังแท้ สีผิวจะเป็นสีขาว ซีด ตุ่มพองมีน้อยหรือแฟบ ความรู้สึกปวดแสบลดลง แผลจะหายใน 14-28วัน
3.Thir degree burn ผิวหนังถูกทำลายทุกชั้น ทั้งหนังกำพร้าและหนังแท้ อาจลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ หรือกระดูก มีสักษณะสีขาว ซีด เหลือง น้ำตาลไหม้หรือดำ แห้งกร้าน ไม่มีอาการเจ็บปวด
การประเมินแผลไหม้ตามกฎ Rule of nine
Foreign body in GI tract ได้แก่ เหรียญ แม่เหล็ก ถ่านแบบกระดุม กระดุม ก้างปลา เศษอาหาร
Foreign body removal ได้แก่ อุดกันบางส่วนหรือทั้งหมด อายุมากกว่าหรือน้อยกว่า 1 ปี ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่
Partial obstruction ไอเสียงแหบ พยายามบอกว่าอะไรติดคอ
จมน้ำ (Drowning)
พบมากในเด็ก 0-4 ปี และวัยรุ่น 15-19 ปี
เด็ก < 1 ปี ส่วนใหญ่จมน้ำในบ้าน
1 - 4 ปี จมน้ำในสระ
วัยรุ่น : ว่ายน้ำ พายเรือ กีฬาทางน้ำ อุบัติเหตุจราจร
อาการและอาการแสดง
สำลักน้ำเข้าไปใน alveoli ทำให้เกิดการทำล้าย Surfacetant
Pulmonary edema
ARDS
HTE : ไม่ตาย แต่ไม่ฟื้น เจ้าชายนินทา
การรักษา
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs รีบขอความช่วยเหลือ
การตรวจดูสิ่งแปลกปลอม เช่น ฟันปลอม เศษโคลน เสมหะ เลือด ที่อุดกลันทางเดินหายใจ ถ้าพบให้เอาออก
Basic CPR ถ้าพบว่าหายใจไม่ปกติ ให้ช่วยเป่าปาก 2 ครั้ง หลังจากนั้นให้เริ่มการกดหน้าอกเเละทำตามหลักการกู้ชีพเบื้องต้น
สารพิษ
อาการและอาการแสดง
ขึ้นกับชนิดของสารพิษ
การซักประวัติ
ลักษณะของสารพิษ
ปริมาณที่ได้รับ อาเจียน หรือบ้วนทิ้งหรือไม่
ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับ
ข้อมูลส่วนตัวผู้ป่วย
อาการที่เกิดและการรักษาเบื้องต้นที่ให้มาแล้ว
Paraquat Poisning
พิษรุนแรง ขนาด 150g/kkg or 10-15 ml.
หลังได้รับสารนี้ 0.5-2ชม. ระดับสูงสุดในเลือด
การดูดซึมทางผิวหนังภายในระยะเวลา 24 ชม.
อยู่ในเลือดเพียง 2 ชม.
อาการ
ระคายเคืองผิวหนัง เยื่อบุช่องปากและทางเดินอาหาร
กระจกตาขุ่น
เมื่อสูดดมจะระคายเคืองเยื่อบุจมูก
ปวดแบบปวดร้อนของผิวหนัง
การรักษา
ลดการละคายเคือง : ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อน ล้างตัวด้วยน้ำธรรมดา
หากเข้าตา irrigate อย่างน้อย 20 นาที
ล้างบริเวณจมูก ปากที่สัมผัส
ลดการดูดซึม : สามารถให้ activated chacoa ทุก 6 ชม. เพื่อลดการดูโซึมยาและการป้องกันการดูดซึมเพิ่ม
Increase excretion: การให้ยาระบาย การให้สารน้ำ Record urine out put 2-4 cc/kg
น้ำยาล้างห้องน้ำ
น้ำยาทำความสะอาดที่ประกอบด้วยกรด และสารลดแรงตึงผิวที่ใช้สำหรับทำความสะอาด และขจัดคราบสกปรกในห้องน้ำ
การแก้พิษ
ไอของก๊าซจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบหายใจ
น้ำยาล้างห้องน้ำมีฤทธิ์เป็นกรด ทำให้ระคายเคือง ผิวหนังไหม้ ปวดแสบปวดร้อน หรือเกิดผื่นแดง หากสัมผัสกับผิวหนังให้รีบล้างออกทันที
หากน้ำยาสัมผัสกับตา อาจทำให้ตาบอด จ้องรีบล้างออกด้วยน้ำสะอาดทันที หากไม่ดีขึ้นควรพบแพทย์
พิษจากเหล็กเกิน
Local effects จะระคายเคืองต่อเยื่อบุทางเดินอาหาร อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน
Systemic effects เมื่อเข้าสู่ร่างกายจับกับ transferrin เมื่อมี iron ที่เหลือจะใช้แล้วจะถูกเก็บสะสมในรูปของ Ferritinและhemosiderin
อาการทางคลินิก
ระยะที่ 1 (30-60 นาทีหลังรับประทาน) คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อาจถ่ายเป็นเลือด ช็อค
ระยะที่ 2 (6-24ชม.หลังรับประทาน) อาจไม่มีอาการ
ระยะที่ 3 (24-48 ชม.หลังรับประทาน) อาจมีปัญหาทางระบบทางเดินอาหาร ภาวะช็อค มีตัวเหลือง ตับวาย มีเลือดออก ไม่รู้สึกตัว อาจเสียชีวิต
ระยะที่ 4 (4-6 week หลังรับประทาน) ผู้ป่วยมีอาการ อาเจียนจากการที่มี pyrolic obstruction ได้
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
ระวังและรักษาภาวะช็อค
การล้างท้อง หรือทำให้อาเจียน
การรักษา
การล้างท้อง
การให้ผงถ่านกัมมันต์
การล้างลำไส้
ยาระบายช่วยขับสารพิษ