Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การประเมินภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
บทที่ 3 การประเมินภาวะโภชนาการ
แนวคิดการประเมินภาวะโภชนาการ
ประโยชน์การประเมินภาวะโภชนาการ
-วินิจฉัยปัญหาโภชนาการที่เกิดขึ้นในชุมชน ทราบถึงปัญหา ขนาด ความรุนแรงของปัญหา ขอบเขตและการกระจายของภาวะสุขภาพ
-ค้นหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อใช้ในการวางแผน และ ดําเนินการ
แก้ไขปัญหา
-ติดตามเฝ้าระวัง ประเมินความก้าวหน้า และความสําเร็จของโครงการ
ต่างๆ
-เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดการโครงการ รณรงค์ หรือ กําหนดนโยบาย ด้านอาหารและโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ (Nutrition status) หมายถึง ภาวะสุขภาพที่เป็นผลมาจากการบริโภค ถือเป็นหหึ่งในดัชนีที่บ่งชี้ถึงภาวะสุขภาพของบุคคล
วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ
แบ่งได้ 2 วิธี
1.การประเมินโภชนาการทางตรง (Direct methods of nutritional assessment)
-การประเมินส่วนต่างๆของร่างกาย (Anthropometric assessment)
-การประเมินทางด้านชวี เคมี (Biochemical assessment)
-การประเมินทางคลินิก (Clinical assessment)
-การประเมินอาหารบริภค (Dietary assessment)
2.การประเมินภาวะโภชนาการทางอ้อม(Indirect methods of nutritional assessment) เช่น การประเมินปัจจัยทางนิเทศวิทยา
การประเมินภาวะโภชนาการโดยวิธีตรวจร่างกายทางคลินิก(Clinical assessment)
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก(Irondeficiencyanemia)
Anemia tongue with natural fissure ลิ้นซีดและเป็นร่องโดยไม่มีตุ่มของลิ้น
Koilonychias เล็บบาง เกิดกับเล็บมือทั้งสองข้างทั้งในเด็กโตและผู้หญิง
Pele conjunctiva เยื่อบุตาซีด
โรคคอพอกจากการขาดสารไอโอดีน
ผู้ที่เป็นคอพอก ต่อมไทรอยด์จะโต อาจมีภาวะหัวใจเต้นเร็ว
โรคขาดวิตามิน
โรคขาดวิตามินบี 1 (Thiamine Desuficiency) บวทกดบุ๋มที่ขาทั้งสองข้าง เป็นโรคเหน็บชา
โรคขาดวิตามินเอ(VitaminA Desuficiency ;VAD)มีอาการตาบอดกลางคืน (Night Blindness) ตาแห้ง (Xerophthalmia) เยื่อบุตาขาวแห้ง ขาดประกายมันวาว ผิวตาขาวหยาบหนา มีแผ่นสีเทาเงินเป็นฟองละเอียดเกาะที่ตาขาวที่แห้ง
โรคขาดวิตามินบี 2 (Riboflavin Desuficiency) โรคปากนกกระจอก มีการอักเสบที่มุมปากทั้งสองข้าง โรคตานกกระจอก
โรคขาดวิตามินซี (Vitamin C Desuficiency) โรคลักปิดลักเปิด (Scurvy) มีเลือดออกตามไรฟัน
-เป็นการประเมินภาวะโภชนาการโดยการซักประวัติภาวะโภชนาการ การตรวจร่ากาย
-เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ ค้อนเคาะรีแฟลกซ์ หูฟัง เครื่องวัดความดันโลหิต
-การวินิจฉัยโรคโภชนาการหลายๆโรคเบื้องต้น เฉพาะโรคขาดสารอาหาร แม้ผู้ตรวจไม่ใช่แพทย์ก็สามารถตรวจวินิจฉัยได้ดี
-การซักประวัติวัยทารก ซักเกี่ยวกับ การดื่มนมมารดา นมผสม รับประทานอาหารเสรมิ การแพ้นม แพ้อาหารเสริม
-การซักประวัติวัยเด็ก ซักเกี่ยวกับ อาหารที่เด็กชอบ/ไม่ชอบ การแพ้อาหาร รวมทั้งความอยากอาหาร การให้วิตามิน/เกลือแร่เสริม ในเด็ก
-การซักประวัติในวัยรุ่น ซักเกี่ยวกับ ประวัติอาหารที่ชอบ/ไม่ชอบ จํานวนมื้ออาหาร มื้อที่งดรับประทาน อาหารว่าง การได้รับ วิตามิน/เกลือแร่เสริมการแพ้อาหาร ความเชื่อทัศนคติ
การตรวจร่างกายเพื่อหาอาการแสดงทางคลินิกที่บ่งบอกภาวะทุพโภชนาการ
1.มาราสมัส (Marasmus) เป็นโรคขาดพลังงานอย่างเดียว : ผอมมาก ตาลึกโหล แก้มตอบแขนขาลีบเล็กไม่มีไขมันใต้ผิวหนังหนังหุ้ม กระดูก ผิวหนังเหนียวย่นเหมือนคนแก่ ไม่มีอาการบวม ไม่มีตับโต พบมากในทารกและเด็กต่ำกว่า 1 ปี
2.ควาซิออร์กอร์ (Kwashiorkor) โรคขาดสารอาหารประเภทที่มีการขาดโปรตีนอย่างมาก พบมากในเด็กก่อนวัยเรียน(1-3 ปี) แขนขายงั มีกล้ามเน้ือและไขมันบางๆ มีอาการบวม เห็นได้ชัดที่ขาสองข้าง เส้นผมเปราะและหลุดง่าย ผิวหนังบางลอกและหลุดง่ายตับโต ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ใบหน้ากลมเหมือนพระจันทร์ (Moon-face) แก้มสองข้างป่องออกมา
กดที่แก้มไม่เป็นรอยบุ๋ม ผิวหนังพองเป็นน้ำใสบริเวณที่ถูกเสียดสี ผิวมีสีเข้มข้ึนและหลุดลอกทำให้เห็นผิวสีอ่อนหรืออาจ มีแผลอักเสบคล้ายน้ำร้อนลวก พบมาก บริเวณ ก้นด้านหลัง ของต้นขา
โรคเอ๋อ(Cretinism / Myxedematous type)
ขาดไอโอดีนรุนแรงตั้งแต่อยู่ใ่นครรภ์
มีอาการปัญยาอ่อน ตัวบวมฉุเป็นใบ้และหูหนวก จะมีตาเข โรคเอ๋อที่รุนแรงมากมีอาการกล้ามเน้ือเกร็ง กระตุกทุกครั้งที่ต้องการเคลื่อนไหว ทําให้คนที่เป็นโรคนี้จะนอนไม่เคลื่อนไหว มีการทดสอบโดยให้ยกมือสองข้างข้ึน จะมีการกระตุกของกล้ามเน้ือ
ภาวะขาดเเคลเซียม (Calcium Deficiency)
Bow-legs(ขาโก่ง)เป็นอาการแสดงของโรคในเด็กที่ยืนได้แล้ว และขารับการเคลื่อนไหว ทําให้กระดูกขาเกิดการโค้งงอออกด้านข้าง
การเจริญเติบโตผิดรูปของกระดูกทรวงอก Pigeon chest (Pectus Carinatum) มีกระดูกทรวงอกนนู แบบอกไก่และHarrison's sulcus มีรอยบุ๋มเป็นร่องอยู่ด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้าง
Opened anterior fontanel กระหม่อมหน้าเปิดมากกว่า 18 เดือน เกิดจากการขาดแคลเซียม ทำให้กระดูกเจริญไปเรื่อยๆ
Beading rosary ข้อต่อระหว่างกระดูกอ่อนและกระดูกซี่โครงทั้ง 2ข้างของกระดูก Sternum โปร่งใหญ่และเรียงกันเหมือนสวมลูกประคํา
Knock-Knee อาการแสดงของข้อเข่าใหญ่ ทําให้ยืนตรงส้นเท้าชิด กันไม่ได้
การประเมินอาหารบริโภค (Dietary assessment)
2.การบันทึกน้ำหนักอาหารที่บริโภค โดยการชั่งน้ำหนักอาหารที่บริโภค การประเมินอาหารที่บุคคลได้รับ เป็นการชั่งน้ำหนักอาหารชนิดที่บริโภคในแต่ละมื้อใน 1 วัน
3.การสัมภาษณ์การบริโภคอาหารยอ้หลัง 24 ชั่ว โมง เป็นการประเมินอาหารที่บริโภคโดยการทบทวนความจํา สัมภาษณ์เกี่ยวกับชนิดอาหาร ส่วนประกอบ ปริมาณอาหาร รวมทั้ง เครื่องดื่มที่บริโภคทุกชนิด และทุกมื้ออใน 24 ชั่วโมง
1.การบันทึกอาหารที่บริโภคเป็นการประเมินอาหารที่บริโภคโดยการบันทึกอาหารที่บริโภคโดยผู้ประเมินต้องบันทึกชนิด ส่วนประกอบ ปริมาณอาหาร เครื่องดื่มที่บริโภคในแต่ละวัน
4.การสอบถามความถี่ของการของการบริโภคอาหาร เป็นการประเมินสารอาหารและพลังงานที่ได้รับประเมินจากความถี่ในการบริโภคอาหารแต่ละชนิด ซึ่งเป็นแหล่งของสารอาหารเฉพาะที่ต้องการประเมิน อาหารตามความ เชื่อวัฒนธรรม ที่แต่ละ บุคคลบริโภค เป็น ส๋วนใหญ๋
การประเมินภาวะโภชนาการทางเคมี (Biochemical assessment)
ข้อจำกัดของการประเมินภาวะโภชนาการทางเคมี
1.ต้องใช้ผู้ที่มีทักษะและชำนาญการทางชีวเคมีในการเลือกชนิดตัวชี้วัด วิธีการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ที่ให้ผลแม่นยำ
2.ค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ค่อนข้างสูง แต่อาจจะสุ่มทําเฉพาะราย/กลุ่มที่
3.การเก็บตัวอย่างทําได้ยาก บางอย่างต้องใช้เวลาในการเก็บนาน
ตัวชี้วัดในการประเมินภาวะโภชาการของอาหารโปรตีน
ฺภาวะโปรตีนในส่วนที่ในกล้ามเนื้อต่างๆ(Somatic Compartment)
-ครีเอตินินในปัสสาวะ (Urine Creatinine excretion) มาจากการทํางานของกล้ามเนื้อ หากขาดโปรตีนปริมาณกล้ามเนื้อในร่างกายลดลง
ตัวชี้วัดในการประเมืนภาวะโภชนาของสารอาหารโปรตีน
ภาวะโปรตีนในส่วนที่ในกล้ามเนื้อต่างๆ(Somatic Compartment)
-ครีเอตินินในปัสสาวะ (Urine Creatinine excretion) มาจากการทํางานของกล้ามเนื้อ
หากขาดโปรตีนปริมาณกล้ามเนื้อในร่างกายลดลง
ทําให้สามารถประเมินปริมาณครีเอตินินในปัสสาวะลดลง
-ปริมาณกรดอะมิโน 3-methylhistidine (3-MH) ในปัสสาวะ ดูการสลายโปรตีนในกล้ามเนื้อลาย
ภาวะโปรตีนในเลือด
-ซีรัมอะบูลมิน (Serum Albumin) ใช้วิจฉัยภาวะการขาดโปรตีน โดยเฉพาะการขาดโปรตีนและพลังงานอย่างเฉียบพลัน
-ซีรัม ทรานส์เฟอรร์นิ (Serum Transferrin) เป็นตัวข่นส่งธาตุเหล็กในคนปกติ
-โปรตีนที่จับกับเรตินอล (Serum Retinol-binding Protein: RBP)
ทําหน้าที่ขนส่งวิตามินเอ
-พรีอัลบูมิน (Pre albumin) โปรตีนที่ทําหน้าที่ขนส่งฮอร์โมนไทรอกซิน
ตัวชี้วัดในการประเมินภาวะโภชนาการสารอาหารของสารอาหารไขมัน
ไขมันในเลือด 1.ไขมันไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) 2.โคเลสเตอรอลรวม (Total cholesterol) -ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ (Low Density Lipoprotrin : LDL-cholesterol (ค่าปกติ < 100mg/dl) -ไลโปโปรตีนความหนาแน่นสูง (High Density Lipoprotrin : HDL-cholesterol (ค่าปกติ >= 40mg/dl)
ตัวชีวัดในการประเมินภาวะโภชนาการทางเคมี
สารประกอบที่วิเคราะห์ได้ในปัสสาวะ เป็นสารที่ร่างกายได้รับมากเพียงพอ หรือเป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย (End Product) เมแทบอลิซึมของสารอาหารต่างๆในร่างกาย ถูกขับออกจากร่างกายทางไตปนอยูใ่นปัสสาวะ สารเหล่านี้ ได้แก่ ยูเรีย ครีเอตินิน กรดยูริค วิตามินบี1 วิตามินบี2 และน้ำตาลกลูโคส เป็นต้น
ตัวชี้วัดในการประเมินภาวะโภชนาการของสารอาหารคาร์โบไฮเดรต
-สารอาหารท่ีเป็นตัวชี้วัดระดับสารคาร์โบไฮเดรตในเลือด คือ กลูโคส การตรวจน้ำตาลกลูโคสในเลือด(Fasting Blood Sugar)
ให้งดน้ำและอาหารอย่างน้อย6-8 ชั่วโมง ก่อนตรวจเลือด
เป็นการประเมินการเปลี่ยนแปลงภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นก่อนจะปรากฏอาการของโรคทางคลินิก และก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของร่างกาย เป็นตัวบ่งชี้ความแม่นยำถูกต้อง
กว่าตัวบ่งชี้ที่ทางคลินิกและใหข้อมูลการทํานายโรคที่ดีกว่าเพื่อตรวจสอบความสมดุลของสารอาหารในร่างกาย สารเมแทบอไลท์ เอนไซม์และฮอร์โมน ทําได้โดยการตรวจววิคราะห์
การประเมินส่วนต่างๆของร่างกาย (Anthropometric assessment)
การวัดสัดส่วนของร่างกายที่ใช้ในการประเมินภาวะทางโภชนาการ ประกอบด้วย
1.ส่วนสูงและความยาว(Height and Length)
2.น้ำหนัก (Weight)
3.การวัด Body circumference
-การวัดเส้นรอบศีรษะ (Head circumference)
-วัดเส้นรอบวงของต้นแขน (Mid-upper arm circumference)
-วัดเส้นรอบเอว (Waist circumference)
-วัดเส้นรอบสะโพก (Hip circumference)
4.การวัดปริมาณไขมันใต้ผิวหนังบริเวณกล้ามเน้ือTriceps,sub scapular, และ supralliac
การประเมินร่างกายด้วยการวัดสัดส่วน ใช้ในกรณีต่อไปนี้
1.วัดติดตามการเจริญเติบโตในเด็ก
2.ติดตามน้ำหนักท่ีเพิ่ม ขึ้นในหญิงตั้งครรภ์
3.ประเมินอัตราทารกแรกคลอดที่มีน้ำหนักน้อย
4.ติดตามประเมินการเพิ่ม/ลดน้ำหนักในสภาวะต่างๆหรือภาวะที่มีพยาธิสภาพ
5.ประเมินการเพิ่ม/ลดการสะสมไขมัน (Body fat) หรือโปรตีน (กล้ามเน้ือ) ในประชากรทุกกลุ่ม
ข้อดีของการวัดสัดส่วนของร่างกาย
1.เป็นวิธีที่ไม่มีอันตราย
2.เครื่องมือที่ใช้ไม่แพง มีความง่ายในการปฏิบัติ
3.เคลื่อนย้ายเครื่องมือไปได้ทุกที่
4.วัดรวดเร็วประเมินได้กับคนจํานวนมาก
5.ได้ผลตามวัตถุประสงค์ ประชาชนเข้าใจง่าย
6.ให้เป็นตัวเลข สามารถแบ่งระดับได้ และใหข้อมูลเพียงพอในการระบุภาวะโภชนาการเกิน/ขาดสารอาหาร