Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Carbohydrate Metabolism, F0BFE9D3-B5D5-488B-91EB-8C6EB171FA4C, 79F83175…
Carbohydrate Metabolism
1.การย่อยคาร์โบไฮเดรต
การย่อยในปาก
-อาหารถูกบดเป็นชิ้นเล็ก
คลุกเคล้ากับน้ำลายที่มีเอนไซม์และโปรตีน
-ในปากจะมีการย่อยแป้ง
โดยเอนไซม์ amltaseจากต่อมน้ำลาย
-เอนไซม์ Maltese,lipase,protease มีเพียงเล็กน้อย
การย่อยในกระเพาะ
-หลั่งน้ำย่อยและสารต่างๆ
-ย่อยโปรตีนโดย เอนไซม์ pepsinogen -pepsin
-Gastric emptying time เวลาอาหารผ่านกระเพาะใช้เวลา2-5ชม.ขึ้นกับชนิดอาหาร
การย่อยในลำไส้เล็ก
-ตับ หลั่งน้ำดี ช่วนในการย่อยอาหารและการคลดูดซึมลิพิด
-ตับอ่อน amylase
lipase
trysinogen- trypsin
chymotrypsinogen-chymotrypsin
Procarboxypetidase -carboxypetidase
Proelastase-elastase
-ลำไส้เล็ก disacchaidase
aminopeptidase
2.การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
การดูดซึมคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยแล้วเกิดขึ้นที่ลำไส้เล็กโดยผ่านเยื่อเมือกของผนังลำไส้เล็กสู่หลอดเลือดฝอย
-เข้าระบบไหลเวียนเลือดดำในตับตามปกติ
-มอโนแซ็กคาไรด์เท่านั้นที่ผ่านเข้าไปได้
-
3.Metabolism Pathway
Glycolysis Pathway
-
กระบวนการสลายน้ำตาล ศึกษาโดย เอ็มเด็น(Emden) เมเยอร์ฮอฟ (Meyerhof)และพาร์เนส(Pamas)ชื่ออีกชื่อหนึ่งEMP Pathway
-
-
Krebs’cycle
เป็นวัฏจักรศูนย์กลางของการเปลี่ยนสารอาหารคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีนให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ และพลังงาน (ATP)
โดยมีแอซีทิลโคเอและสารอินเทอมีเดียดภายในวัฏจักรเครบส์เป็นจุดเปลี่ยน (1โมเลกุลของแอซีทิลโคเอจะให้พลังงาน12AP)
Gluconeogenesis
การสร้างกเป็นหนึ่งในสิงกลไกลหลักที่มนุษย์และสัตว์อื่นหลายชนิดใช้ควบคุมระดับกลูโคสในเลือดไม่ให้ต่ำเกินไป
เป็นวิถีแทบอลิซึมที่เป็นการสร้างกลูโคสจากคาร์บอนที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต เช่น แลกเทต กลีเซอรอลและกรดอะมิโนกลูโคจีนิก
-
-
-
Glycogen
ไกลโคเจนถูกสะสมอยู่ใน cytosol ของเซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อใน รูปของ granule ที่มีน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ 6ล้านถึง 16,00ล้าน
4 . Glucose in the blood
-
-ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มก/ดล
-จะเริ่มมีความผิดปกติทางระบบประสาท
-เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลีย
อาการน้ำตาลในเลือดต่ำ
เหงื่อออก-ไม่มีแรง -เวียนศีรษะ -สับสน -ผิวหนังเย็น -อ่อนเพลีย -ตาพร่า -หิวบ่อย -ตัวสั่น -ชัก -ขาดสติ -หัวใจเต้นเร็ว -อาการโคม่า
Hyperglycemia
-ร่างกายเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกิดกว่าเกณฑ์ค่าปกติ
-อาจจะส่งผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพได้
-ร่างกายจะผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ
-ขาดการรักษาอย่างต่อเนื่องอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรง
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
-กระหายน้ำบ่อย -ปัสสาวะบ่อย-สายตาพร่ามัว -ตาลาย -ปวดศีรษะ -ผิวหนังแห้งและคัน -เป็นแผลแล้วแผลหายช้า
-
-
-
-
-
-