Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ (The Muscular system), 8B3894FA-D726-4C95-8E02…
ระบบกล้ามเนื้อ
(The Muscular system)
กล้ามเนื้อลาย(skeletal muscle)
-เซลล์ของกล้ามเนื้อลายมีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาวเรียว
-ภายในเซลล์พบนิวเคลียสรูปไข่หลายอัน
-อยู่ในอำนาจจิตใจ
โครงสร้างกล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
พบตามผนังของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือด,ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินหายใจ ระบบสืบพันธุ์ กล้ามเนื้อขนตา และม่านตตาที่ผิวหนัง และตามท่อของต่อมต่างๆ
โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
•เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย (spindle)
•ไม่มีลายให้เห็น
•SR เจริญไม่ดีเหมือนในกล้ามเนื้อลาย
•ไม่มีT-tubule และไม่พบ Triad
•Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์1อัน
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอร์โมน
-มีเส้นใยประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติมาเลี้ยง
-ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์เ เช่น อะเซทิลโคลีนและนอร์อิพิเนฟริน
-ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์เหมือนกับกล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
•Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์1 อัน
•มีT-tubule ใหญ่กว่าและ SR ไม่มีการพัฒนาเป็นกระเปา
•ไม่พบ Triad
•มีแถบและลายคล้ายกล้ามเนื้อลาย เแต่เซลล์มีขนาดเล็กกว่า
•การทำงานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ (Pacemaker และ Syncytium)
•Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์1อัน
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
1.เซลล์ทำหน้าที่หดตัว (Contractile cell)
พบได้ที่ผนหัวใจทั้ง4ห้อง
2.กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์(Pacemaker cell)
•ทำหน้าที่ผลิตศักย์ทำงาน(Action potential)ได้เอง แบะส่งสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว
-ปุ่มเอสเอ(Sinuatrial node:S-A node)
-ปุ่มเอวี (Atrioventricular node :A-V node)
3.กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ (Specialized conduction cell)
มีหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนต่างๆของหัวใจ
ได้แก่bundle of His และ Punkinje fiber
กล้ามเนื้อปลายขา (muscle of leg)
กล้ามเนื้อด้านหน้า
-Tibialis Anterior
-กระดกปลายเท้าขึ้นและเหยียดนิ้วเท้า
-Extensor hallucinating longus กระดกปลายเท้าขึ้นและเหยียดนิ้วที่1
-Peroneus Tertius กระดกปลายเท้าขึ้น
•กล้ามเนื้อด้านนอก
-Peroneus longus
-ถีบปลายเท้าละหันฝ่าเท้าออกด้านนอก
•กล้ามเนื้อด้านหลัง
Gastrocnemius ถีบปลายเท้าลง
กล้ามเนื้อภายในเท้า (Muscle of the foot)
1.กล้ามเนื้อทางด้านหลังเท้า(Muscle on the dorsum of the foot)
-Extensor digitorum brevis
-เหยียดข้อต่อ metatarsophalangeal ของนิ้วเท้าที่2-5
2.กล้ามเนื้อฝ่าเท้า (Muscle in the sole of the foot)
2.1 กล้ามเนื้อชั้นที่1ของฝ่าเท้า
4 more items...
กล้ามเนื้อแสดงสีหน้า(Muscle of facial expressions)
กล้ามเนื้อของหนังศีรษะ
Frontalis
-ผิวหนังบริเวณคิ้ว เช่น ยักคิ้ว,หน้าผากย่น
Occipitalis
-ดึงหนังศรีษะไปด้านหลัง
กล้ามเนื้อรอบเบ้าตา
Corrugator supercilii
-ขมวดคิ้ว
Orbicularis Oculi
-หลับตา กระพริบตา หยีตา
กล้ามเนื้อรอบจมูก
ส่วนประกอบ2ส่วน
กล้ามเนื้อของพื้นช่องเชิงกราน
(muscle of the pelvis Diaphragm)
•กล้ามเนื้อของก้น (muscle of the buttock)
-Gluteus maximus
-กางและเหยียดต้นขา
-Gluteus Medius
-กางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
-Tensor fascia lata
-Piriformis
-กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
-กางและงอต้นขา
-Obturator externus
-หมุนต้นขาออกด้านนอก
-Superior gemellus
-กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
กล้ามเนื้อของต้นขา (muscle of the thigh)
•กลุ่มกล้าเนื้อทางด้านหน้า
-Sartorius
-หุบต้นขา งอปลายขา และช่วยหมุนปลายขามทางด้านใน
Quadriceps femoris
-a.Rectus Femoris เหยียดปลายขา
-b.Vastus Medialis เหงียดปลายขา
-c.Vastus intermedius เหยียดปลายขา
-d.Vastus lateral is เหยียดปลายขา
กล้ามเนื้อทางใน
2 more items...
-transverse part หรือ compressor
-ทำให้รูจมูกแคบลง
-alar part หรือ dilator nalis
-ทำให้รูจมูกกว้างขึ้น
กล้ามเนื้อรอบปาก
-Orbicularis Oris
-เม้นริมฝีปาก หรือหุบปาก
-Levator Anguilla oris
-ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิดปาก และทำให้รูจมูกผายออก
-zygomaticus
-ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
-Risorius
-ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้สงเวลายิ้มหรือหัวเราะ
-Levator Anguilla oris
-ยกมุมปากขึ้นให้เห็นฟันขณะยิ้ม
-Depressor labii jnferioris
-ดึงริมฝีปากล่างลง
Depressor Anguilla oris
-ดึงมุมปากลงมาด้านล่าง
Mentalis
-ทำคางย่น
กล้ามเนื้อหลัง (Back muscle)
1.Splenius muscle
2.Erector spinae
-iliocstalis lumborum
-spinal is thoracis
-Iongissimus thoracis
3.Transversospinalis muscle
-Semispinalis muscle
-Multifidus muscle
-Rotatores muscle
4.Segmental muscle
-lntertransversarii muscle
-Interspinalis muscle
กล้ามเนื้อที่พื้นของช่องปาก(muscle of the floor of the oral cavity)
-ทำหน้าที่ยกกล่องเสียงและกระดูก hyoid ข้นขณะกลืนอาหารหรือดึงขากรรไกรล่างลงเวลาอ้าปาก
กล้ามเนื้อของกล่องเสียง(muscle of the larynx)
-ดึงกล่องเสียงขึ้นขณะกลืนอาหาร
-ช่วนในการพูด
-ช่วยเปิด ปิดกล่องเสียงขณะพูด
กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว (muscle of mastication)
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของ tamporomandibular joint กล้ามเนื้อมีจำนวน4คู่ได้แก่
-Temporalis
-Masseter
-Madial pterygoid
-Lateral pterygoid
-Temporalis
•Temporal fossa ของTemporal
•Coronoid process ของกระดูก Mandible
•ยกขากรรไกรล่างขึ้น ทำให้หุบปาก และถอยไปข้สงหลัง
-Masseter
•Zygomatic arch
•มุมของกระดูก mandible
•ยกขากรรไกรล่างขึ้น
-Medial pterygoid
•ผิวด้านในของกระดูก mandible
•ยกกระดูก mandible ขึ้นแบะทำให้มีการเคลื่อนกระดูก mandible ออกไปด้านข้าง
-Lateral pterygoid
•ยื่นกระดูก mandible มาทางด้านหน้า และไปด้านข้าง
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ(muscle of respiration)
-Diaphragm
-ในขณะที่มีการหายใจเข้า จะมีการหดตัวและลดต่ำลง
ทำให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่งขึ้น
-External lntercostal
-ยกกระดูกซี่โครง และเพิ่มปริมาตรช่องอกขณะหายใจเข้า
-lnternal lntercostal
-พยุงกระดูกซี่โครงแต่ละชิ้นไม่ให้แยกจากกันใน
ขณะผ่อนลมหายใจออก
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านหน้า (Anterior wall)
-Rectus Abdominus
-งอลำตัวและกดผนังหน้าท้องเพื่อเพิ่มความดัน ในช่องท้อง
•กล้ามเนื้อผนช่องท้องทางด้านข้าง(Latera wall)
-External Oblique
-lanternal Oblique
-กดผนังหน้าท้อง เพื่อเพิ่มความดันภายในช่องท้อง
-แนวกึ่งกลางลำตัวบริเวณ Linda Alba กระดูกpubic
และกระดูก ilium
•กล้ามเนื้อผนช่องท้องด้านหลัง (Posterior wall)
-Quadratus lumborum
-งอกระดูกสันหลังระดับเอวไปด้านข้าง
-Psoas major
-งอต้นขา
-lliacus
-งอลำตัวและต้นขา
กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวศีรษะและคอ (muscle moving the head and neck)
-Sternocleidomastoid
-หดตัวพ้อมกัน2ข้างจะก้มศีรผษะ
-Splenius capitis
-ใต้superior unchallenged line และบริเวณ mastoid process
-Semispinalis capitis,acerbic is and spinalid
-C7-T6
-กระดูก Occipital
กล้ามเนื้อของช่วงไหล่
แบ่งเป็น2กลุ่มคือ
2.กลั่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกายหรือกระดูก scapula มีจุดเกาะปลายที่กระดูก humerus ได้แก่
-Infraspinatus
-หุบและหมุนต้นแขนออกด้านนอก
-Supraspinatus
-ช่วย deltoid ในการกางแขน
-Teres major
-หุบและหมุนต้นแขนเข้าด้านใน
-Teres minor
-หมันต้นแขนออกด้านนอก
-Latissimus Dorsi
-ดึงต้นแขนเข้าหาลำตัวไปด้านหลัง
-Deltoid
-กางแขน
1.กลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกาย มีจุดเกาะปลายที่กระดูก clavicle และ scapular ได้แก่
-Subclavius
-ดึงกระดูก Clavicle ลงล่าง
-Serratus Anterior
-การดึงกระดูก scapula ให้แนบลำตัวและช่วยในการหายใจ
-Trapezius
-ยกไหล่และหมุนกระดูก scapula ขึ้นเวลากางแขน
-Rhomboid Major
-ดึงกระดูก scapula เข้าหาแนวกลางลำตัว
-Levator Scapulae
-ยกกระดูก scapula
-Pectoral is Minor
-ดึงกระดูก scapula มาด้านหน้า ถ้าตรึงกระดูก scapula ให้อยู่กับที่จะทำหน้าที่ในการยกกระดูกซี่โครงอันที่3-5ขึ้น ช่วยในการหายในเข้าแรงๆ
กล้ามเนื้อต้นแขน (muscle of the forearm)
•มีจุดเกาะต้นที่กระดูก humerus และไปเกาะปลายที่กระดูกปลายแขน ได้แก่ กระดูก radius และ ulnar
-Biceps Brachii
-งอต้นแขนและหงายปลายแขน
-Brachialis
-งอต้นแขน
-Coracobrachialis
-งอต้นแขนและหุบต้นแขน
-Triceps Brachii
-ดหยียดปลายแขน
-Anconeus
กล้ามเนื้อปลายแขน (muscle of the forearm)
•กลุ่มที่อยู่ด้านหน้าของปลายแขน (anterior group)
-Pronator teres
-คว่ำมือและงอต้นแขน
-Flexor carpi radialis
-งอข้อมือ
-Flexor dugitorum superficialis
-งอ proximal interphalangeal joint ของนิ้วที่ 2-5
1.1 กลุ่มที่ ยู่ตื้น (Superficial layer)
1.2 กลุ่มที่อยู่ลึก (deep layer)
-Pronator quadratus
-คว่ำปลายแขน
-Flexor digitorum profundus
-งอข้อต่อ distal interphalangeal ของนิ้วที่2-5
-Extensor carpi radialis longus
-เหยียดข้อมือและกางมือ
-Extensor carpi radialis brevis
-เหยียดแขนท่อนล่าง และกางข้อมือ
-ทำหน้าที่เคลื่อนไหวข้อมมือ และนิ้วมือ
•กลุ่มที่อยู่ด้านหลังของปลายแขน (posterior group
1.1 กลุ่มที่อยู่ตื้น (Superficial layer)
1.2 กลุ่มที่อยู่ (deep layer)
-Supinator
-หงายฝ่ามือ
-Abductor policies longus
-กางนิ้วแม่มือ
-Extensor indicis
-เหยียดนิ้วชี้ และข้อมือ
-Extensor policies brevis
-เยียดนิ้วหัวแม่มือและเหยียดและกางมือ
-Anconeus
-ช่วยกล้มาเนื้อtriceps Brachii ในการเหยียดต้นแขน
Brchioradialis
-งอปลายแขน
Extensor carpi radialis longus
เหยียดข้อมือและกางมือ