Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 บทนำสู่การวิจัย - Coggle Diagram
บทที่ 1
บทนำสู่การวิจัย
ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ สังคทศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
ทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ถือว่าคุณค่าเป็นสสิ่งสมมุติ ไม่ใช่ความจริงทางวิทยาศาสตร์และเป็นนามธรรมไม่สามาร๔รับรู้ทางประสาทสัมผัสได้
ทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์มุ่งค้นหาลักษณะทั่วไปนั่นคือการพยายามมองสิ่งต่างๆโโยผ่านมโนทัศน์ร่วม
สังคมศาสตร์หาความรู้โดยใช้ข้อเท็จจริงทางสังคมเป็นข้อมูล
สังคทศาสตร์ไม่ได้มุ่งศึกษาหลักการประเมินค่า มักจะถือว่าสิ่งที่สังคมเห็นเป็นสิ่งที่ดีจริง นั่นคือค่านิยมที่สังคมยอมรับ
ศึกษาเรื่องประเภทเดียวกันคือเรื่องข้อเท็จจริง โดยวิทยาศาสตร์หาความรู้โดยใช้ข้อเท็จจริงทางธรรมชาติเป็นข้อมูล
ความรู้และการเรียนรู้ของมนุษย์
ความรู้ทำให้เราสามารถจัดการกับสถานการณ์หรือปัณหาต่างๆได้ดีขึ้น
แบบแผนของความรู้กระแสหลักที่จะเป็นที่ยอมรับในหมู่ผู้ได้รับการศึกษาสมัยใหม่จะต้องเป็นแบบที่มีเหตุผลและพิสูจน์ได้
ความรู้ความเข้าใจที่ตรงต่อสภาพความเป็นจริง
ข้อตกลงเบื้องต้นของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2.ข้อตกลงว่าด้วยรูปแบบของธรรมชาติ ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นทั้งหมด เกิดขึ้นอย่างมีระบบ และแต่ระลบบที่มีเงื่อไขเดียวกันจะต้องเกิดปรากฏกาณ์ขึ้นเหมือนกันโดยไม่มีข้อยกเว้น สาระสำคัญ3ประการ
1.สัจพจน์กับชนิดตามธรรมชาติ เกิดขึ้นเป็นกลุ่มพวกเสมอ
2.สัจพจน์เกี่ยวกับความคงตัวตามเงื่อไข ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจะแปรฝันเปลี่ยนไปหรือไม่แปรฝัน ขึ้นอยู่กับเงื่อนไข ไม่มีข้อยกเว้น
3.สัจพจน์เกี่ยบกับความเป็นสาเหตุปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจะต้องมีเหตุทำให้เกิดขึ้น
3.ข้อตกลงที่เกี่ยวกับกระบวนการทางจิตวิทยา ข้อเท็จจริงหรือความรู้ที่ได้มานั้นต้องผ่านกระบวนการทางจิตวิทยา แบ่งเป็น3ลักษณะ
2.สัจพจน์เกี่ยวกับความเที่ยงของความจำได้
3.สัจพจน์เกี่ยวกับความเที่ยงของเหตุผล
1.สัจพจน์เกี่ยวกับคามเที่ยงของการับรู้
1.ข้อตกลงว่าด้วยความจริงตามธรรมชาติ หมายถึงปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมทั้งหลายที่เป้นไปตามธรรมชาติ ผลทุกอย่างต้องมาจากเหตุ
ความรู้ความจริงทางสังคมศาสตร์
ความรู้ทีได้จาการตีความ ความรู้ลักษณะนี้เกิดจากการใช้ความคิด ใช้เหตุผล ใช้สติปัญญาความสามารถของบุคคล
ความรู้ที่ได้จากประสาทสัมผัส
1.ประสาทสัมผัสโดยตรงจากลิ้น หู ตา จมูก และกาย
2.ประสาทสัมผัสแต่ไม่ใช่ความรู้โดยตรง เนื่องจากเป็นความรู้ที่เกิดจาอื่นช่วยกการใช้เครื่องมือ
วิธีแสวงหาความรู้ของมนุษย์
3.การสอบถามจากผู้รู้ เป็นวิธีที่ใช้กันมาแต่โบราณ วิธรการนี้ก็ยังใช้อยู่ในปัจจุบัน บุคคลที่ได้ศึกษาและสั่งสมควารู้จนได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้รู้หรือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ปัจจุบันเรียกว่า กูรู
1.การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี เช่นความรู้ในเรื่อวพิธีกรรมทางศาสนา การทอดกฐิน การแต่งกาย การไหว้ครูเป็นต้น
2.การใช้ประสบการณื เป้นความรู้ที่ได้มาโดยบังเอิญ ได้จาการลองถูกลองผิด จากการปฏิบัติและฝึกฝน จนกลายเป็นความรู้ความเข้าใจ
4.ศึกษาจากเอกสารตำราและสื่อต่างๆ เป็นการถ่ายทอดออกมาในรูปของเอกสารและสื่อสิ่งพิมพ์มากมาย และการแสวงหาความรู้โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณืการเรียนรู้ต่างๆ
5.การใช้เหตุผลเชิงอนุมาน อริสโตเติลเป็นคนแรกทีใช้วิธีการนี้ค้นหาความรู้หรือข้อเท็จจริง โดยการคิดเชิงเหตุผล อ้างข้อเท็จจริงที่เป็นจริงสองประการ มาสรุปเป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้ใหม่
เหตุย่อย-กระรอกเป็นสิ่งมีชีวต
ข้อสรุป-กระรอกต้องการอาหาร
เหตุใหญ่-สิ่งมีชีวิตต้องการอาหาร
6.การใช้เหตุผลเชิงอุปมาน จากข้อบกพร่องของการใช้เหตุผลเชิงอนุมานของ ฟรานซิส เบคอน ได้เสนอวิธีการค้นคว้าความรู้เชิงเหตุผลด้วยวิธีการอุปมานไว้2วิธี ดังนี้
1.การใช้เหตุผลเชิงอุปมานแบบสมบูรณ์ จะเก็บข้อเท็จจริงย่อยๆให้ครบทึกหน่วยประชากรที่ต้องศึกษาก่อน
2.การใช้เหตุผลเชิงอุปมานแบบไม่สมบูรณ์เป็นการเก็ยรวลรวมข้อเท็จจริงย่อยๆจากตัวอย่างเพียงบางส่วนของหน่วยประชากร นำมาวิเคราะห์
8.วิธีการค้นหาความจริงเชิงเหตุผลของมิลล์
2.วิธีการของความแตกต่าง
3.วิธีการร่วมของความสอดคล้องและความแตกต่าง
1.วิธีการของความสอดคล้อง
5.วิธีการของความแปลผันร่วมกัน
4.วิธีการของส่วนที่เหลือ
7.วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษาที่ใช้ทั้งวิธีกานอนุมาน อุปมาน ร่วมกัน กล่าวคือเมื่อต้องการความรู้เรื่องใดจะตั้งปัณหาหรือคำถาม แล้วจึงใช้วิธีการคาดเดาคำตอบของปัญหานั้นเอาใว้ในลักษณะของการตั้งสมมุติฐาน จากนั้นรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงย่อยๆมาทดสอบหรือยืนยันข้อสมมุติฐานแล้วจึงสรุปเป็นความรู้ใหม่
การกำหนดและนิยามปัญหา
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสรุปผล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมุติฐาน
ลักษณะของทฤษฎีสังคมศาสตร์
ทฤษฎีทางสังคมไม่มีบทบาทประเมินค่าข้อมูลที่ศึกษาในแงว่าควรหรือไม่ควร ดีหรือไม่ดี และมักเป็นไปตามกระแสทฤษฎีคุณค่าที่สังคมยึดถือ
นักสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่เริ่มต้นด้วยการศึกษาทฤษฎี และนำทฤษฎีไปอธิบายข้อเท็จจริงทางสังคมมากกว่าการสร้างทฤษฎีขึ้นเอง
เป็นทฤษฎีที่อธิบายสาเหตุของพฤติกรรมที่เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมอย่างทั่วๆไปของคนส่นใหญ่แต่อาจใช่กับบุคคลพิเศษหรือคนบางกลุ่มได้