Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การละเล่นพื้นเมือง - Coggle Diagram
การละเล่นพื้นเมือง
-
ภาคเหนือ
การละเล่นพื้นเมืองของภาคเหนือในรูปแบบของการแสดงพื้นเมือง ซึ่งมักเกี่ยวกับการฟ้อนหรือการร่ายรำนั้น แบ่ง 5 ประเภทคือ
- ฟ้อนที่สืบเนื่องมาจาการนับถือผี เป็นการฟ้อนที่เกี่ยวกับความเชื่อ และพิธีกรรม นับเป็นการฟ้อนที่เก่าแก่มาช้านาน ได้แก่ ฟ้อนผีมดผีเม็ง ฟ้อนผีบ้านผีเมือง ฯลฯ
2.ฟ้อนแบบเมือง เป็นศิลปะการฟ้อนที่มีลีลาแสดงลักษณะเป็นแบบฉบับของคนเมืองหรือ "ชาวไทยยวน" (ซึ่งเป็นกลุ่มชนกลุ่มใหญ่ที่อาศัยอยู่เป็นปึกแผ่นในแว่นแคว้นที่เรียกว่า "ลานนา") ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน
- ฟ้อนแบบม่าน คำว่า "ม่าน" ในภาษาลานนาหมายถึง "พม่า" การฟ้อนประเภทนี้เป็นการผสมผสานกันระหว่างศิลปะการฟ้อนของพม่ากับของไทยลานนา ได้แก่ ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฯลฯ
5.ฟ้อนแบบเงี้ยวหรือแบบไทยใหย่ เป็นการฟ้อนตลอดจนการแสดงที่ได้รับอิทธิพลหรือต้นเค้ามาจากศิลปการแสดงของชาวไทยใหญ่ ได้แก่ เล่นโต กิ่งกะหร่า (กินนรา) หรือฟ้อนนางนำ กำเบ้อคง มองเซิง ฟ้อนไต (ไทยใหญ่) และฟ้อนเงี้ยว ฯลฯ
- ฟ้อนที่ปรากฎในบทละคร การฟ้อนประเภทนี้เป็นการฟ้อนที่มีผู้คิดสร้างสรรค์ขึ้นในการแสดงละครพันทาง ซึ่งนิยมกันในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้แก่ ฟ้อนลาวแพน ฟ้อนม่านมงคล ฟ้อนรั และฟ้อนลาวดวงเดือน ฯลฯ
-
-