Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ความหมายผู้สูงอายุ
กรุงเวียนนา ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปทั้งชายและหญิง
WHO ให้ความหมายว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
กรุงเวียนนา คือ ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
สหรัฐอเมริกา ให้ความหมายว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป
ประเภทผู้สูงอายุ
ฮอลล์ ได้แบ่งการสูงอายุของบุคคลออกเป็น 4 ประเภท คือ
การสูงอายุตามวัย (Choronological Aging) หมายถึง การสูงอายุตามปีปฏิทินนับจากปีที่เกิด
การสูงอายุตามสภาพร่างกาย (Biological Aging) การสูงอายุจากสภาพร่างกายและสรีระของบุคคลที่เปลี่ยนไป
การสูงอายุตามสภาพสังคม (Sociological Aging) การเปลี่ยนแปลง บทบาทหน้าที่ สถานภาพของบุคคลในระบบสังคม รวมทั้งความคาดหวังของสังคมต่อบุคคลนั้น ซึ่งเกี่ยวกับอายุ
การสูงอายุตามสภาพจิตใจ (Psychological Aging) การเปลี่ยนแปลง หน้าที่ การรับรู้ แนวความคิด ความจำ การเรียนรู้ เชาว์ปัญญา และลักษณะบุคลิกภาพ ที่ปรากฎในระยะต่าง ๆ
องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงได้แบ่งเกณฑ์อายุตามสภาพของการมีอายุเพิ่มขึ้น ดังนี้
ผู้สูงอายุ (Elderly) มีอายุระหว่าง 60 –74 ปี
คนชรา (Old) มีอายุระหว่าง 75 –90 ปี
คนชรามาก (Very Old) มีอายุ 90 ปีขึ้นไป
American nurse association ได้แบ่งผู้สูงอายุออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
ผู้สูงอายุวัยต้น (young old) อายุ 65 – 74 ปี
ผู้สูงอายุวัยกลาง (old-old) อายุ 75 – 84 ปี
ผู้สูงอายุวัยปลาย (the very old) อายุ 85 ปีขึ้นไป
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย แบ่งกลุ่มวัยเป็น 3 กลุ่ม คือ
วัยสูงอายุตอนต้น (young old) อายุ 60-69 ปี
วัยสูงอายุตอนกลาง (medium old) อายุ 70-79 ปี
วัยสูงอายุมาก (old-old) อายุ 80 ปีหรือมากกว่า
นักวิชาการบางท่านจึงใช้เกณฑ์ความสามารถของผู้สูงอายุแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ดี
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ เนื่องจากมีปัญหาสุขภาพ มีความพิการ
แบ่งตามการพึ่งพาผู้สูงอายุ
ไม่ต้องพึ่งพาเลย (totally independence)
พึ่งพาบางส่วน (partially dependence)
พึ่งพาทั้งหมด (totally dependence)
ติดเตียง (bed ridden)
การจัดแบ่งผู้สูงอายุตามการมีโรค (Miller, 2004 ; สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ, 2548) สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
ผู้สูงอายุที่แข็งแรง (healthy elderly)
ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง (frailty หรือ frail elderly)
การเพิ่มประชากรผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2513 อัตราการเพิ่ม = 4.9 % ของประชากรทั้งหมด
พ.ศ. 2533 อัตราการเพิ่ม = 7.3 % ของประชากรทั้งหมด
พ.ศ. 2543 มีประชากรสูงอายุ = 9.1 % ของประชากรทั้งหมด
ปัจจุบัน พ.ศ. 2560 มีประชากรสูงอายุ = 11.3 ล้านคน คิดเป็น 17.14 % ของประชากรทั้งหมด
คาดว่าในปี 2571 ประเทศไทยจะมีผู้อายุเกิน 60 ปี 23.5 %
ระดับสังคมสูงอายุ องค์การสหประชาชาติได้แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่
ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายถึง สังคมที่มีสัดส่วนของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 10 %
ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ หมายถึง สังคมที่มีสัดส่วนของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 20% หรือ ประชากรอายุ 65 ปีมากกว่า14%
ระดับสังคมอุดมไปด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง สังคมที่มีสัดส่วนของประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 20%
สภาพปัญหาของผู้สูงอายุไทย
อยู่ตามลำพัง
ถูกลดบทบาท
ถูกจำกัดในการรับ
ข้อมูล ข่าวสาร
สุขภาพจิต
แบกรับภาระ
การเข้าร่วมกิจกรรมลดลง
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุ
บทบาทผู้บำบัดรักษา (healer)
บทบาทผู้ปฏิบัติ (implementer)
บทบาทผู้ให้การศึกษา (Educator)
บทบาทนักวิจัย (researcher)
บทบาทเป็นผู้ให้คำปรึกษา (consultant)
บทบาทผู้พิทักษ์สิทธิ์ (advocate)
บทบาทผู้คิดค้นสิ่งใหม่ (innovator)
บทบาทของผู้ดูแล
บทบาทของผู้ดูแลหลัก
บทบาทของผู้ดูแลรอง
บทบาทของ อผส
บทบาทของครอบครัว
การให้การเกื้อหนุนในรูปแบบต่างๆ
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ