Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทบทวนรายวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์ - Coggle Diagram
ทบทวนรายวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์
ไอโซโทป นิวเคลียสธาตุชนิดเดียวกัน Z เท่า A ต่าง เช่น
ไม่แผ่รังสี = เสถียร
แผ่รังสี = กัมมันตรังสี
ไอโซโทน (Isotone)
ธาตุต่างกันมีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน
ไอโซบาร์ (Isobar)
ธาตุต่างกันมีเลขมวลเท่ากัน
ไอโซอิเล็กทรอนิกส์(Isoelectronic)
ธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
เทคนิคจำ โทป โปรตอนเท่า โทน นิวตอนเท่า บาร์ บนเท่า อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กตรอจเท่า
การค้นพบ
เบ็คเคอเรล
ค้นพบยูเรเนียม ปล่อยรังสีออกมาโดยบังเอิญ
ปิแอร์และมารี คูรี
พบว่าธาตุอื่นปล่อยรังสีได้ เช่น ทอเรียม พอโลเนียม เรเดียม
นิวเคลียสของอะตอม
คือ อนุภาคที่อยู่ตรงกลางของอะตอมประกอบไปด้วย โปรตอน และนิวตรอน
นิวคลีออน
(Nucleon) จำนวนโปนตอน+จำนวนนิวตรอน
สัญลักษ์ของนิวเคลียร์
(Nuclear symbol) หรือนิวไคลน์ (nuclide)ชนิดหนึ่งของธาตุจะใช้จะนวน โปรตอน และ นิวตอน ในการระบุชนิดของนิวไคลน์
Z แทนเลขอะตอม (atomic number) โปรตอนในนิวเคลียส
n แทน นิวตรอน (neutron number) นิวตรอนในนิวเคลีย
A แทน อลขมวล (mass number) นิวคลีออนทั้งหมดในนิวเคลียส A = Z + n
X แทน สัญลักษณ์ทางเคมี (chrmical symbol)
รังสีแบ่งเป็น 3 ชนิด แอลฟา(ประจุบวก) บีตา(ประจุลบ) แกมมา(กลาง)
เปรียบเทียบสมบัติของ รังสี
มวลและประจุไฟฟ้า แอลฟา>บีตา>แกมมา
พลังงาน แอลฟา>บีตา>แกมมา
การทำให้อากาศแตกตัวเป็นไอออน แอลฟา>บีตา>แกมมา
4 . อำนาจทะลุทะลวงผ่านอากาศ แกมมา>บีตา>แอลฟา
เวลาครึ่งชีวิต(Half Life)
แรกมีมวล N0 เมื่อเวลาผ่านไป n ครึ่งชีวิตเหลือ
ผ่านไป t1/2 คิดเป็น 1ครึ่งชีวิต
ผ่านไป t วิ คิดเป็น
ช่วงครึ่งชีวิต
พลังงานยึดเหนี่ยว (B.E.)
คือมวลของนิวเคลียสเกิดจากมมวลของโปรตอนและนิวตรอนนรวมกัน แต่จากการทดลองพบว่า มวลของนิวเฃคลียสไม่เท่ากับมวลของโปรตอนบวกกับนิวตรอน มีมวลหายไปบางส่วนเรียกว่า มวลพร่อง
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
คือ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบหรือระดับพลังงาน
ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain reaction)
เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิชชันเกิดอย่างต่อเนื่อง
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion reaction)
เกิดจากธาตุเบาสองธาตุรวมกันกลายเป็นธาตุหนัก
ปฤิกิริยาฟิชชัน (Fission reaction)
เกิดจากธาตุหนักถุกยิงด้วยนิวตอน แตกเป็นธาตุเบา