Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่ระบบไหลเวียนโลหิต
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ขับออกนอกร่างกาย
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้เป็นปกติ
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
เรียกว่าเส้นเลือดแดงโคโรนารี่
มีรูเปิดอยู่ที่บริเวณโคนของเส้นเลือดแดง
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา จะเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวา
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย จะเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้าย
การปวดหัวใจจากการขาดเลือด
แบบคงที่
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีตำแหน่งตีบตันทั่วไปอย่างคงที่
และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจพอเพียง
ถ้าเริ่มทำงานแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้น เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
ในปริมาณเดิมก็จะไม่เพียงพอ
โดยไม่เลยไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตาย
แบบไม่คงที่
เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตันอยู่
แต่อยู่ๆ เลือดก็ไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้าเนื้อหัวใจจะเกิดขึ้นได้แม้การนั่งพัก นอนหลับหรือออกกำลังกาย
อาการเจ็บหน้าอกปานกลางถึงรุนแรงอาจเกิดขึ้นทั้งๆที่ไม่เคยเจ็บหน้าอกมาก่อน
สาเหตุ
การเกิดรอยแตกที่คราบไขมัน
พอเกิดรอยแยกแล้วร่างกายมีการตอบสนองคือ เม็ดเลือดขาวมาควบคุมจนเกิดปฏิกิริยาการอักเสบแล้วมีการคั่งแข็งตัวของเลือดใกล้
ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัวจะมีขนาดใหญ่ขึ้น จนอุดตัน
Rheumatic Heart Disease
เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด
มักพบในเด็กโดยที่บางครั้งเด็กไม่มีอาการชัดเจน
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบหรือต่อมทอนซิลอักเสบ
ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อผิดปกติ
ผลที่ตามมา RHD
จากการเกิดลิ้นหัวใจอักเสบคือเกิดผังผืดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ
ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ หรือปิดไม่สนิท
Endocarditis เยื่อบุหัวใจอักเสบ
Non-infectiveไม่พบเชื้อใน vegetation ในผู้ป่วย RHD
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
เกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจ
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
มักเกิดกับหัวใจปกติ
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
Buerger's Disease Thromboangiitis Obliteran
ลักษณะของโรค
ไม่มี atheromas หรือเกิดน้อยมาก
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
ลักษณะการอุดตันของหลอดเลือด
ลักษณะของโรคสัมพันธ์อย่างมากกับ การสูบบุหรี่
อาการเฉพาะ
ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือดทั่วไปคือปวดขา
เป็นแผลเรื้อรัง
สาเหตุ
ยังไม่รู้แน่ชัด
พบมากในประเทศที่สูบบุหรี่จัด
หลอดเลือดแดงโปร่งพอง
สาเหตุ
เกิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลงจึงทำให้หลอดเลือดโป่งออกมา
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
มีความดันโหิตสูง
ผู้ชายอายุเกิน 60 ปี
มีญาติสายตรงเป็ น AAA: แม่/น้องชาย
อาการแสดง
อาจไม่มีอาการผิดปกติอาการแสดง
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรงทันทีทันใด
ถ้าหลอดเลือดที่โป่งพองใกล้จะแตกผ้ป่วยจะมีอาการ
ปวดขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
หัวใจ
หน้าที่
หัวใจมี 4 ห้อง
ซีกซ้าย/ซีกขวา แต่ละซีก ประกอบด้วยหัวใจห้องบน และห้องล่าง
ระหว่างห้องบนกับห้องล่างมีลิ้นหัวใจ
เพื่อให้เลือดไหลในทิศทางเดียว และไม่ไหลย้อนกลับ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดและหัวใจ
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus ที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดปอดที่เปิดอยู่หรือปิดไม่สนิท
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ ซึ่งควรปิดตั้งแต่ 10-15 ชั่วโมงหลังคลอด
สาเหตุได้แก่ภาวะคลอดก่อนก าหนด ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด หรือการติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรก
Ventricular Septal Defect (VSD)
ความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องล่างขวา
.Atrial Septal Defect (ASD)
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องบนขวา (RA) และซ้าย (LA) มักมีรูรั่วเดียวแต่ก็อาจพบรูรั่วหลายรูได้ ลักษณะรูรั่วอาจมีรูปร่างกลมหรือรี
Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta ส่วนใหญ่เกิดที่ aorticisthmus ใต้ left subclavian artery
Pulmonary Stenosis
เป็นโรคหัวใจที่มีการตีบของลิ้น pulmonary
Aortic Stenosis
ลิ้นหัวใจตีบ คือโรคที่พบบ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ
กลุ่มที่มีอาการเขียว
Tetralogy of fallot (TOF)
Right Ventricular Hypertrophy
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาหนามากกว่าปกติ
Pulmonary Valve Stenosis
โรคหัวใจที่มีการตีบซึ่งการตีบนั้นอาจตีบที่เนื้อเยื่อใต้ลิ้นหรือตรงตำแหน่งของลิ้น หรือเหนือตำแหน่งของลิ้นซึ่งเป็นการตีบของ pulmonary artery
Overriding of aorta
มีการคร่อมของหลอดเลือดแดงใหญ่อยู่ระหว่าง Interventricular septum
Ventricular Septal Defect
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องล่างขวา (right ventricle, RV) และซ้าย
Transposition of the greatarteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricleขวา และ pulmonary artery ออกจากventricle ซ้าย
Pulmonary atersia
การที่ Pulmonary valveตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจอย่างอื่น
Tricucpid atersia
ไม่มีTricucpid valve ทำให้เลือดเข้า RV ไม่ได้
ทำให้เลือดจาก RA ต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
ถ้ามีtransposition of great artery ร่วมด้วยจะมีCHF
โรคลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenoticvalve)
ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/หนา/ติดกัน/กีดกั้น
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจ
Acute rheumatic fever สามารถท าให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น
ลิ้นไตรคัสปิ ดตีบ (Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
เป็นภาวะที่พบบ่อย โดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์
อักเสบที่ลิ้นหัวใจคล้ายคลึงกับกระบวนการ atherosclerosis
ลิ้นพูลโมนิคตีบ(Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว Regurgitate valae
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิทmeให้เลือดไหลย้อนกลับ
เมื่อลิ้นหัวใจรั่วทำให้เลือดไหลย้อนกลับเช่น ลิ้นไมตรัลรั่ว
เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว แทนที่จะนำเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงทั่วร่างกาย
โรคที่เกิดจาหัวใจ
ลิ้นหัวใจรูมาติก
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ หรือผิวหนัง และทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทาน
เมื่อลิ้นหัวใจถูกทำลายจะมีพังพืดและหินปูนเกาะทำให้ลิ้นหัวใจเปิด-ปิดไม่ดีเหมือนปกติ
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย
เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุ
ส่วนใหญ่พบในคนอายุ 40 ปี ขึ้นไป
ทำให้ลิ้นหัวจผิดรูป เกิดการเปิด-ปิดไม่สนิททำให้เกิดโรคหัวใจลิ้นลั่วได้
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
ท าให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อ หัวใจจะอ่อนแรง
เมื่อเป็นมากขึ้น อาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว
ระบบไหลเวียนโลหิตแบ่งเป็น 2 ส่วน
วงจรไหลเวียนทั่วกาย (systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียนออกจากร่างกาย LV ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายแล้วกลีบมาเข้า RA
วงจรนี้ทำงานกว้างขวาง เรียกว่า วงจรใหญ่
วงจรไหลเวียนผ่านปอด (pulmonary
circulation)
เลือดที่ส่งมาเข้า RAจะเทลงสู่ RV แล้วส่งไปยังปอดแล้วจะกลับมาเข้า LA ใหม่
การไหลเวียน วงจรนี้ทำงานน้อยกว่า เรียกว่า
วงจรเล็ก