Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซต์จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของเหลวภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้ปกติ
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
หัวใจมี 4 ห้อง
ซีกซ้าย
ซีกขวา
ประกอบด้วย
หัวใจห้องบน
หัวใจห้องล่าง
ระหว่างห้องบนกับห้องล่างมีลิ้นหัวใจ
ทำหน้าที่เปิด- ปิด
เพื่อให้เลือดไหลในทิศทางเดียว และไม่ไหลย้อนกลับ
ระบบไหลเวียนโลหิต
วงจรที่ไหลเวียนทั่วร่างกาย(systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียนออกจาก LV
ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย แล้วกลับมาเข้า RA
วงจรนี้เรียกว่า วงจรใหญ่ (greater circulation)
วงจรที่ไหลเวียนผ่านปอด(pulmonary circulation)
เลือดที่ส่งเข้ามา RA จะเทลงสู่ RV แล้วลงไปยังปอดหลังจากนั้นจะกลับมาเข้า LA ใหม่
การไหลเวียนวงจรนี้ทำงานน้อยกว่า เรียกว่าวงจรเล็ก(lesser circulation)
การไหลเวียนโลหิต
หัวใจ พร้อมทั้งการทำงานโดยละเอียด
หลอดเลือดมีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไกลการทำงาน
โรคลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ(Stenoticvalve)
◦ ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/หนา/ติดกัน/กีดกั้น
◦ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจภายหลังการติดเ ชื้อ Group A Streptococcal pharyngitis ที่เรียกว่า Rheumatic heart disease
Acute rheumatic fever สามารถทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น (endocarditis, myocarditis หรือ pericarditis) เรียกรวมว่าเกิด Rheumatic carditis
ลิ้นพูลโมนิคตีบ(Pulmonic stenosis)
กั้นระหว่างห้องหัวใจล่างขวา กับหลอดเลือด Pulmonary trunk ที่นำเลือดไปที่ปอด
ส่วนลิ้น Aortic valve ทำหน้าที่กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายกับหลอดเลือด Aorta ที่นำเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงส่วนด่างๆ ของร่างกาย
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
เป็นภาวะที่พบบ่อย โดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเชลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ
คล้ายคลึงกับกระบวนการ atherosclerosis พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ (Tricuspid stenosis)
ทำหน้าที่ช่วยดึงและกั้นไม่ให้ลิ้นเปิดย้อนทาง
ลิ้นนี้มีกล้ามเนื้อที่ เรียกว่า คอร์ดีเทนดินี (Chordae tendinae)
ลิ้นหัวใจรั่ว
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิททำให้เลือดไหลย้อนกลับ
เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบด้วยแทนที่จะนำเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงทั่วร่างกาย แต่เลือดส่วนหนึ่งจะไหลย้อนกลับไปยังห้องบนซ้ายผ่านลิ้นที่รั่ว
โรคลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
สาเหตุ
โรคนี้เป็นภาวะแทรกซ้อนของคออักเสบหรือทอนซิลอักเสบ จากเชื้อแบคที่เรียที่มีชื้อว่า บิดาฮีโมไลติกสเตรปโดค็อกคัสกลุ่มเอ (beta-hemolytic Streptococcus group A)
พบได้ประมาณร้อยละ 0.3-3 ของ ผู้ป่วยที่เป็นคออักเสบหรือทอลซิลอักเสบจากเชื้อชนิด นี้ ที่ไม่ได้รับการรักษาอย่าถูกต้อง
ความผิดปกติของสิ้นหัวใจแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลังเกิด
การติดเชื้ออื่นๆที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
infective endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจหรือลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
มักเกิดกับหัวใจปกติ
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
Non-infective Endocarditis ไม่พบเชื้อใน vegetation ในผู้ป่วย RHD
◦Atherosclerosis
พบบ่อยที่สุดและสำคัญที่สุด
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ Abdominal aorta
พยาธิสภาพคือ พบไขมันสะสมใน Tunica intima
เห็นเป็นแผ่นนูน (Plaque) สีเหลืองเรียกว่า atheroma
สาเหตุ
4 more items...
ผลที่ตามมา
จากการเกิดลิ้นหัวใจกเสบคือเกิดพังผืดเกาะยึดบริเว ณลิ้นหัวใจ (fibrosis)
ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ (ลิ้นหัวใจตีบ) หรือปิดไม่สนิท (ลิ้นหัวใจรั่ว)หรือ ทั้งตีบและรั่วในขณะเดียวกัน โดยอาจจะเป็นลิ้นเดียว หรือ หลายลิ้น ก็ได้
มักพบในเด็กโดยที่บางครั้งเด็กไม่มีอาการชัดเจน
เมื่อลิ้นหัวใจถูกทำลาย จะมีพังผืดและหินปูนเกาะทำให้ลิ้นหัวใจเปิด- ปิดไม่ดีเหมือนปกติ หัวใจต้องทำงานหนักมากขึ้น
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว(Acyanotic)
3.Atrial Septal Defect (ASD)
ทำให้เลือดไหลผ่านรูรั่วจาก LA ไปยัง RA ปริมาณเลือดขึ้นกับขนาดของรูรั่ว
ทำให้เลือดไหลผ่านรูรั่วจาก LA ไปยัง RA น้อย
ขนาดของรูรั่วยิ่งมีขนาดใหญ่ยิ่งมีเลือดไหลผ่านรูรั่วมากขึ้น
แรงต้านทานหลอดเลือดในปอด ความยืดหยุ่น ( compliance) ของ RV ซึ่งในช่วงแรกเกิด ผนัง RV จะหนา มีความยืดหยุ่นน้อย
4.Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta ส่วนใหญ่เกิดที่ aorticisthmus ใต้ left subclavian artery
1) Preductal type มีการตีบก่อนถึง ductus arteriosusมักจะเสียชีวิตตั้งแต่เล็ก
2) Ductal type มีการตีบจะอยู่ตรงกับส่วนต่อของ Ductus พอดี
3) Postductal type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosusโดยทั่วไปแล้วกลุ่มนี้จะมีชีวิตโตจนถึงเป็นผู้ใหญ่ได้
5.Pulmonary Stenosis
ตั้งแต่ระยะที่อยู่ในครรภ์มารดา ตั้งแต่อายุ 18 วัน จนถึง 2 เดือน ที่มีการสร้างหัวใจและหลอดเลือด มีบางชนิดเกิดในระยะท้ายกว่านี้
ความผิดปกตินี้ไม่ทำให้เลือดดำ ( ที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำ) จากหัวใจชีกขวามาผสมกับเลือดแดงในหัวใจซีกซ้าย ทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายยังคงเป็นเลือดแดง ( ที่มีปริมาณออกซิเจนสูง) จึงไม่มีอาการเขียว ความผิดปกติที่พบอาจเกิดที่ผนังกั้นหัวใจมีรู ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท (รั่ว) หรือเปิดไม่กว้างเท่าปกติ ( ตีบ) หรือหลอดเลือดตีบ หรือเกินปกติ
ผิดปกติในโครงสร้างของระบบหลอดเลือด หรือหัวใจที่เป็นมาแต่กำเนิด
6.Aortic Stenosis
สาเหตุ
อายุที่มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
กลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจรูมาติก หรือผิดปกติแต่กำเนิด เช่น มีลิ้นหัวใจ 2 ฝา (ปกติมี 3 ฝ่า
เป็นโรคลิ้นหัวใจที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เกิดจากความเสื่อมของลิ้นตามอายุ
ความเสื่อมที่เกิดขึ้นนำมาสู่การเกาะของหินปูนบริเวณ ลิ้น ทำให้ลิ้นขยับเปิดได้ลำบากมากขึ้น
ลิ้นหัวใจเอออติกเป็นลิ้นหัวใจที่สำคัญกล่าวคือเป็นทางผ่านของเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ในกรณีที่ลิ้นไม่สามารถเปิดได้ดีตามปกติ จะทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายลดลง
2.Ventricular Septal Defect (VSD)
เป็นความผิดปกติของหัวใจที่มีรูรั่วที่ผนังกันหัวใจห้องล่างขวา (right ventricle, RV) และซ้าย (left ventricle, LV)
เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่พบบ่อยที่สุด
ชนิด
Outlet หรือ supracrystal VSD มีรูรั่วของผนังกั้นหัวใจห้องล่างใกล้บริเวณ aorta หรือ pulmonary artery (PA)
Perimembranous VSD มีรูรั่วอยู่ใต้ลิ้นหัวใจ aortic เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด ประมาณร้อยละ 80
VSD หรือ canal VSD มีรูรั่วอยู่ใด้ลิ้นหัวใจ tricuspid ด้านใน
Muscular VSD มีรูรั่วที่ trabeculae ถ้ามีรูรั่วหลายรู มีชื่อเรียก "Swiss cheess" VSD
Patent Ductus Arteriosus (PDA).
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดและหัวใจ
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดductus arteriosus ที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดปอดเปิดอยู่หรือปิดไม่สนิท
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ ซึ่งควรปิดตั้งแต่ 10-15 ชั่วโมงหลังคลอด และปิดสมบรูณ์15-20 วันไม่เกิน 3 เดือน
สาเหตุได้แก่ภาวะคลอดก่อนก าหนด ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด หรือการติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Tetralogy of fallot (TOF)
4 anatomic malformations
Right Ventricular Hypertrophy
บางรายอาจมีการอุดกั้นที่ระดับอื่นร่วมด้วยเช่น valvular pulmonary stenosis หรือ supravalvular stenosis
มีส่วนของกล้ามเนื้อใด้ลิ้นหัวใจหนาขึ้นทำให้เกิดการอุดกั้นทางออกของหัวใจห้องขวาล่าง (infundibular stenosis or subvalvular pulmonary stenosis)
Right Ventricular Hypertrophy
ผนังหัวใจห้องขวาล่างหนาตัวขึ้นจากที่มี RVOT obstruction ทำให้ความดันในหัวใจห้องขวาล่างสูง
Overriding of aorta
การคร่อมของหลอดเลือดแดงใหญ่อยู่ระหว่าง Interventricular septum
Large Ventricular Septal Defect(VSD)
ในส่วนของ subpulmonary region เมื่อร่วมกับการที่มี RVOT obstruction ทำให้ความดันในห้องหัวใจห้องล่างขวาและห้องล่างช้ายเท่ากัน
เลือดดำจากหัวใจฝั่งขวาจึงมีการผสมกับเลือดแดงจากหัวใจฝั่งซ้าย (Bidirectional flow)
โดย VSD ที่พบบน TOF เป็น perimembranous type และ extend
เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่พบบ่อยสุด
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่ได้มีอาการช่วงแรกเกิด แต่จะตรวจพบได้จากการตรวจร่างกายพบ heart murmur
หากทราบการวินิจฉัยตั้งแต่ช่วงแรก จะทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลติดตามกับกุมารแพทย์โรคหัวใจ
Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricleขวา และ pulmonary artery ออกจากventricle ซ้าย
เกิดการแยกตัวอย่างเด็ดขาดของระบบไหลเวียนเลือด ทั้งสอง
โดยเลือดออกซิเจนสูงจะหมุนเวียนอยู่ในระบบของปอด ส่วนเลือดออกซิเจนต่ำจะหมุนเวียนไปทั่วร่างกาย
Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valveตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจอย่างอื่น
Tricuspid atresia
ไม่มีTricucpid valve ทำให้เลือดเข้าสู่RV ไม่ได้
ทำให้เลือดจาก RA ต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
ถ้ามีtransposition of great artery ร่วมด้วยจะมีCHF