Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biochemistry of Hormones, 03> การคัดหลั่งและการขนส่งโฮร์โมน, 01>…
Biochemistry of Hormones
-
-
- ตัวรับที่อยู่บนผิวเซลล์ (Cell surface receptor
- ตัวรับที่อยู่ในเซลล์ (Nuclear receptor)
05> หน้าที่ของฮอร์โมน
- การเจริญเติบโต : ฮอร์โมนและภาวะโภชนาการเป็นปัจจัยหลักในการเจริญเติบโตของร่างกาย
- การรักษาภาวะธำรงดุล : ฮอร์โมนทุกตัวมีผลต่อความสมดุลของร่างกาย
- การสืบพันธุ์ : เกี่ยวข้องทุกขั้นตอนในการสืบพันธ์ุ
- การจำแนกตามลักษณะการทำงานหรือการออกฤทธิ์
-
-
-
- การจำแนกตามสารชีวโมเลกุลหลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน
-
- ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน (Amino acid derivative hormones)
- เพปไทด์ / โปรตีน (Peptide hormone)
- สเตอรอยฮอร์โมน (Steroid hormone)
- ฮอร์โมนที่เป็นสารกลุ่มอื่นๆ
-กลุ่มที่มาจากสาร Eicosanoid ได้แก่ prostaglandin
-กลุ่มเป็นอนุพันธ์ของวิตามิน ได้แก่ อนุพันธ์ของวิตามิน A, D
- การจำแนกตามตำแหน่งที่ออกฤทธิ์ที่เซลล์เป้าหมาย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอมิโน เพปไทด์ และโปรตีน
ยกเว้น ไทรอกซิม (thyroxine)
ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ ได้แก่ Aldosterone, Cortisol, Testosterone, Estradiol, Progesterone
ฮอร์โมนกลุ่มอนุพันธ์ของวิตามิน
transcription >> translation >> modification
Insulin ผลิตออกมาในรูป
Preproinsuin >> Proinsulin >> Insulin (ทำงานได้)
อาศัยการทำงานของเอนไซม์กลุ่ม cytochrome P450
cytochrome P450 ใช้ NADPH เป็นปัจจัยร่วม (cofactors)
สเตอรอยด์ฮอร์โมนทุกตัว สร้างมาจาก Pregnenolone
(สร้างจาก Cholesterol เกิดใน Mitochondria)
-
• เพปไทด์ / โปรตีนฮอร์โมน เช่น GnRH, Insulin, GH >> เก็บใน secretory แล้วอาศัยสัญญาณมากระตุ้น >> ปลดปล่อยออกนอกเซลล์
-
-
• สเตอรอยด์ฮอร์โมน : ขนส่งไปกลับโปรตีนที่อยู่ใน plasma เช่น Globulin, Albumin
• คำนวณขนาด+ความถี่ ที่จะให้ผู้ป่วย >> เพื่อรักษาระดับฮอร์โมนให้คงที่
• เพปไทด์ฮอร์โมน เช่น ACTH, GH, PTH, LH
-ค่าครึ่งชีวิตสั้น
-มีประโยชน์ต่อการติดตามการรักษาโรค
=ค่าครึ้งชีวิต < 20 นาที = ต้องเจาะเลือดทุก 10 นาที เป็นเวลา 8-24 ชั่วโมง (ในทางปฎิบัติเป็นไปได้ยาก และไม่เหมาะสมในทางคลินิก)
** PTH จะลดลงในผู้ป่วยที่ตัดก้อนมะเร็ง ช่วยยืนยันว่าก้อนมะเร็งถูกตัดออกจริง
• สเตอรอยด์ฮอร์โมน : มีค่าครึ่งชีวิตยาว เพราะมีการจับกับโปรตีน
• ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอมิโน
Thyroxine, T4 = ค่าครึ่งชีวิต 7 วัน >> ใช้เวลา 1 เดือน เพื่อทำให้ระดับฮอร์โมนอยู่ในเกณฑ์คงที่ (ให้ครั้งเดียวก็เพียงพอ)
Triiodothyronine, T3 = ค่าครึ่งชีวิต 1 วัน
ต้องให้ฮอร์โมนแก่ผู้ป่วย 2-3 ครั้งต่อวัน
1.1 G protein-couple receple receptor ได้แก่
Prostaglandins, ACTH, Glucagon, PTH, TSH, LH
1.2 Tyrosine kinase receptor ได้แก่ Insulin
1.3 Cytokine receptor ได้แก่ GH, Prolactin
-
รูปร่างเตี้ย แคระ : ขาด GH, Hypothyroidism
Thyroid hormone: ควบคุมเมแทบอลิซึมพื้นฐานของร่างกาย 25%
Cortisol: มีผลต่อฮอร์โมนหลายชนิด
PTH : ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสเฟต
Insulin : รักษาระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การกำหนดเพศในระหว่างที่อยู่ในครรภ์
การพัฒนาการเจริญพันธ์ุในช่วงวัยรุ่น
การเตรียมพร้อมร่างกายขณะตั้งครรภ์และการให้นม