Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย CAFDC33B-B56E-40E8-813E-F949849D3C77 …
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย
สมัยอยุธยา
มีการแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน แต่เดิม ที่เล่นเป็นละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้องมีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการ เป็นละครรำ เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มีการแต่งการที่ประณีตงดงามมากขึ้น มีดนตรีและบทร้อง [และมีการสร้างโรงแสดง
อ้างอิงจากเว็บไซต์
https://sites.google.com/site/bluestampnew/bth-thi-1-kar-lakhr-thiy/1-1-wiwathnakar-khxng-kar-lakhr-thiy-tangtae-xdit-thung-paccuban
สมัยสุโขทัย
พบหลักฐาน การละครและฟ้อนรำ ปรากฏอยู่ในศิลาจาลึก ของพ่อขุนรามคำแหง กล่าว่า เมื่อจักเข้ามาเรียงกันแต่อรัญญิกพู้นเท้าหัวลานด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ ใครจักมักเหล้น เหล้นใครจักมักหัว หัวใครจักมักเลื้อน เลื้อน
จึงทำให้รับวัฒนธรรมของอินเดีย ผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย มีการบัญญัติศัพท์ขึ้นใหม่ เพื่อนใช้เรียกศิลปะการแสดงของไทย ว่า โขน ละคร ฟ้อนรำ
อ้างอิงจากเว็บไซต์
https://sites.google.com/site/sittipanareerat422/bth-thi3-lakhr-thiy/k
สมัยน่านเจ้า
การศึกษาเรื่องการละคร และนาฏศิลป์ไทยในสมัยนี้ พบว่า ไทยมีนิยายเรื่องหนึ่ง คือ เรื่อง \”
มโนห์รา\” ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ในอาณาจักรน่านเจ้าเดิมนั่นเอง นิยายเรื่องนั้น คือ \”นามาโนห์รา (Namanora) เป็นนิยายของพวกไต พวกไตคือไทยเรานี่เอง แต่เป็นพวกที่ไม่อพยพลงมาจากดินแดนเดิม เรื่องนามาโนห์รานี้จะนำมาเล่นเป็นละครหรือไม่นั้นยังไม่มีหลักฐานปรากฎเด่นชัด ส่วนการละเล่นของไทยน่านเจ้านั้นมีพวกระบำอยู่แล้ว คือ ระบำหมวก และระบำนกยูง
อ้างอิงจากเว็บไซต์
https://sites.google.com/site/sittipanareerat422/bth-thi3-lakhr-thiy/k
สมัยธนบุรี
สมัยนี้บทละครในสมัยอยุธยาได้สูญหายไป สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงรวบรวมศิลปิน บทละคร ที่เหลือมาทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ อีก 5 ตอนได้แก่
ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละครหลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของหลวงพิพิธวาทีอีกด้วย
อ้างอิงจาก
https://sites.google.com/site/sittipanareerat422/bth-thi3-lakhr-thiy/k
บุคคลสำคัญของแต่ละสมัย
สมัยอยุธยา
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
-การรวมอาณาจักรสุโขทัยเข้ากับอยุธยา
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
-เป็นชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย
3.พระนเรศวรมหาราช
-การประกาศใช้กฎหมายพระราชกำหนด
อ้างอิงจากเว็บไซต์
https://thepin085.wordpress.com
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย
1.พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
-เป็นผู้สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีเป็นรัฐไทยอิสระ
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
-ขยายอาณาเขต ออกไปอย่างกว้างขวางมากที่สุดในสมัยสุโขทัย
3.พระมหาธรรมราชาที่1
-รวบรวมอาณาจักรสุโขทัยขึ้นใหม่ ด้วยการขยายอาณาเขตได้เกือบครึ่งหนึ่ง
บุคคลสำคัญสมัยน่านเจ้า
1.พระเจ้าโก๊ะล่อฝง
-ส่งกองทัพไปโจมตีราชวงศ์ถังบ้าง เพื่อขยายอำนาจ กองทัพน่านเจ้าประสบชัยชนะใหญ่ ๆ หลายครั้ง
บุคคลสำคัญสมัยธนบุรี
1.กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท
2.เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน
3.เจ้าพระยาจักรี
4.พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
5.พระยาพิชัยดาบหัก
6.พระยาราชกัปตัน (ฟราน ซิส ไลท์)
7.พระยาอนุราชบุรีศรีมหาสมุทร
8.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
9.สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฉิมใหญ่
10.สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ
11.เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์
12.กรมขุนกษัตรานุชิต สมเด็จพระมหาอุปราช
13.เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์
14.หลวงพิชัยราชา