Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำ และการไหลเวียนเลือด, างโปรต, ี, นลดลง - Coggle…
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำ
และการไหลเวียนเลือด
วัตถุประสงค์
บอกสาเหตุของภาวะบวมน้ำได้
แยกแยะภาวะน้ำคั่งได้
อธิบายชนิดของภาวะเลือดออกได้
แยกแยะชนิดของช๊อกได้
ภาวะบวมน ้า (EDEMA)
ภาวะที่มีการสะสมของน้ำหรือของเหลว (fluid) ในช่องว่างระหว่างเซลล์ (interstitial space)หรือภายในช่องของร่างกาย(body cavity) มากกว่าปกติ
การบวมน ้าหรือการสะสมของของเหลวนี้บ่งบอกถึงความผิดปกติของการควบคุมปริมาณน้ำหรือของเหลว
ภาวะการบวมน้ำสามารถจำแนกน้ำหรือของเหลว
Transudate
Exudate
สาเหตุ
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือด
เพิ่มขึ้น
Oncotic pressure ลดลง
Lymphatic obstruction
พยาธิ filaria จะมี fibrosis ที่หลอดน้ำเหลือง ทำให้ การระบายสารน้ำกลับทางหลอดน้ำเหลืองไม่สะดวก
ผู้ป่วย Elephantiasis
เลือดคั่ง (HYPEREMIA และ CONGESTION)
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น สตรีมีครรภ์ขาบวมจากมดลูกที่มีขนาดใหญ่กดทับ IVC
ผู้ป่วย Congestive heart failure
Oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง
ผู้ป่วยโรคไตเสียโปรตีนกับปัสสาวะ
ผู้ป่วยโรคตับ สร้างโปรตีนลดลง
เลือดคั่ง (HYPEREMIA และ CONGESTION)
ภาวะที่มีเลือดปริมาณมากกว่าปกติคั่งค้างในหลอดเลือด (intravascular) หรือในช่องไซนูซอยด์(sinusoid) ของ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
Active hyperemia บางครั้งเรียกว่า hyperemia เป็ นการที่มีเลือด มาคั่งในหลอดเลือดแดง (artery circulation) มากกว่าปกติ เนื่องจากมีการขยายตัวของหลอดเลือดแดง (artery dilatation) ทา ให้เลือดแดงไหลเข้าสู่บริเวณนั้นมากขึ้น
มีการคั่งของเม็ดเลือดแดงปริมาณมาก ส่วนมากเป็นเลือดที่มี ออกซิเจนมาก ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นมีสีแดงหรือชมพูกว่า บริเวณอื่นๆ
มักเกิดในรายที่มีการอักเสบ
อาจเกิดเนื่องจากระบบประสาทซิมพาเธติก (sympathetic) หรือการหลั่งสารที่มีผลต่อหลอดเลือด
Passive hyperemia นิยมเรียกว่า congestion
เลือดที่คั่งเป็นเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนน้อย ทำให้บริเวณที่เกิดเลือดคั่งแบบนี้มองเห็นเป็นสีเขียว คล้ำหรือออกม่วง เรียกว่า cyanosis
ภาวะที่มีเลือดออกมาจากหลอดเลือด เนื่องจากหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาด โดยตรง หรือการเสื่อมสภาพของผนังหลอด เลือด ซึ่งจะทำให้เลือดซึมผ่านออกนอกหลอดเลือด
โดยวิธี diapedesis ทั้งที่หลอดเลือดไม่ ฉีกขาด
อาการเลือดออก แบ่งเป็ น 2 ประเภท
External hemorrhage เป็นอาการเลือดออกที่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย เช่น บาดแผลที่ผิวหนัง
Internal hemorrhage เป็ นอาการเลือดออกที่ไม่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย เช่น เลือดออกในสมอง (เส้นเลือดในสมองแตก)
สาเหตุการเกิดเลือดออก หรือจุดเลือดออก หรือตกเลือด
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาด โดยตรงจากของมีคม
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายโดยตรง จาก เชื้อโรคที่ทำลายผนังหลอดเลือดหรือเกิดจาก การเสื่อมสภาพ หรือได้รับสารพิษ ทำให้เลือด ซึมผ่านออกจากหลอดเลือดได้
สาเหตุการเกิดเลือดออก หรือจุดเลือดออก หรือตกเลือด
หลอดเลือดได้รับอันตรายจากผลการอักเสบ หรือเนื้องอก หรือหนอนพยาธิที่ทำลายผนัง หลอดเลือด
ความผิดปกติของขบวนการการแข็งตัวของ เลือด เช่น การขาดเกล็ดเลือด หรือขาดปัจจัย การแข็งตัวของเลือด
(coagulation factor)
PETECHIAL HEMORRHAGE
เป็ นจุดเลือดออกขนาดเล็กในชั้นผิวหนังหรือเยื่อบุ สาเหตุเนื่องจากมีความผิดปกติของผนังหลอดเลือด หรือความผิดปกติของระบบแข็งตัวของเลือด
PURPURA HEMORRHAGE
จ้ำเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ ซึ่งจะมี เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร มักเกิดร่วมกับความผิดปกติของเกล็ดเลือด
ECCHYMOTIC HEMORRHAGE
ปื้นเลือด หรือแต้มเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ ซึ่งจะ มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-2 เซนติเมตร หรือ เรียกว่า “ ecchymosis ”
SHOCK
ภาวะที่มีความผิดปกติทางสรีรวิทยา ทำให้เกิดความ ไม่สมดุลของปริมาณเลือดที่ไหลเวียนในหลอดเลือด กับขนาดของหลอดเลือด
ทำให้เกิดการไหลเวียนของเลือดล้มเหลว เลือดไป เลี้ยงส่วนต่างๆ ลดลง มีผลให้ cell ได้รับ O2ไม่ เพียงพอจนเกิดภาวะเนื้อเยื่อขาด O2เกิดการทำลาย cell และนำไปสู่การตายได้ในที่สุดSHOCK แบ่งเป็ น 3 ประเภท
2.Cardiogenic shock
1.Hypovolemic shock
สาเหตุ CARDIOGENIC SHOCK 1) การสูบฉีดล้มเหลว (pump failure) เกิดจาก กล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อ หัวใจตาย กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หัวใจเต้น ผิดจังหวะ ความผิดปกติของลิ้นหัวใจตีบและ รั่ว
2)การไหลกลับของเลือดมายังหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง (ลด Ventricular diastolic filling) ปริมาณเลือดท่เีข้าสู่ หวัใจในระยะคลายตัวมีผลต่อปริมาณเลือดท่สีูบฉีด ออกจากหัวใจใน 1 นาทีปริมาณเลือดท่กีลับสู่หวใจได้ ั น้อย เช่น ภาวะเกิดการบีบรัดหัวใจ (cardiac tamponade) ภาวะมีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด การใช้ เคร่ืองช่วยหายใจท่มีีแรงดันสูง และท่พีบบ่อยคือ ปริมาณเลือดในร่างกายลดลง
3.Vasogenic shock
3.1 Neurogenic shock
3.2 Septic shock
3.3 Anaphylactic shock
4.NEUROGENIC SHOCK
เกbfจากการสูญเสียหน้าที่ของประสาทอัตโนมัติ ซิมพาเทตคิและศูนย์ควบคุมหลอดเลือด เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดทั่วร่างกาย เป็น ผลให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หวัใจลดลง การขน ออกซิเจนไปให้เซลล์ลดลง การก าซาบของ เนื้อเยื่อลดลง สุดท้ายคือเซลล์ขาดออกซิเจน
5.SEPTIC SHOCK
ส่วนมากเกิดจากแบคทีเรีย gram-ve ซึ่งจะหลั่ง สารพิษชนิด Endotoxin ในกระแสเลือด มีผลต่อระบบไหลเวียน พบมากในผู้ป่วยอายุ น้อยหรือสูงอายุผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยโรคระบบทางเดนิอาหารและทางเดนิ ปัสสาวะที่มีภาวะแทรกซ้อน คือ การติดเชื้อ เกิดขึ้น
6.ANAPHYLACTIC SHOCK
เกิดจากการแพ้สารหรือยาต่างๆ โดยเมื่อร่างกาย ได้รับสารดังกล่าว ซึ่งถือว่าเป็ นสารกระตุ้น (antigen) จะกระตุ้นให้มีการสร้างภมูคิุ้มกัน (antibody) ต่อสาร นั้นขึ้นมา
ส่วนใหญ่เป็ นพวก IgE เมื่อได้รับการกระตุ้นอีกครั้ง ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาแพ้สารได้ โดยสร้างสารพวก complement (Histamine, Kinin, prostaglandin) คล้าย กับภาวะ shock จากการติดเชื้อ
HYPOVOLEMIC SHOCK
ภาวะ shock จากปริมาณไหลเวียนลดลง เป็ นภาวะ shock ที่พบบ่อยที่สุด โดยมีสาเหตุดังนี้
External fluid loss (การสูญเสียน้ำออกมา ภายนอกร่างกาย)
Internal fluid loss (การสูญเสียน้ำภายใน ร่างกาย)
HYPOVOLEMIC SHOCK
1.External fluid loss
การเสียเลือด
การสูญเสียน้ำทางระบบทางเดนิอาหาร (อาเจียน, ท้องเสีย)
การสูญเสียน้ำทางไตจากผู้ป่วยเบาหวาน เบาจืด หรือได้ยาขับปัสสาวะมากเกินไป
-การสูญเสียทางผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้การมีไข้
HYPOVOLEMIC SHOCK
Internal fluid loss
กระดูกหกัภายใน อาจทา ให้มีเลือดออกได้ - การอักเสบในช่องท้อง เช่น peritonitis, pancreatitis, obstruction of bowel
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ อวัยวะภายในฉีกขาด
CARDIOGENIC SHOCK
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงส่วน ต่างๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอทำให้มีปริมาณเลือด ท่สีูบฉีดออกจากหวัใจใน 1 นาทีลดลง ส่งผลให้ปริมาณ เลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลงตามมา cell ขาดออกซิเจน
พบบ่อยที่สุดคือ เกิดจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลวจาก กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
างโปรต
ี
นลดลง