Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Carbohydrate Metabolism - Coggle Diagram
Carbohydrate Metabolism
1การย่อยคาร์โบไฮเดรต
1.1 การย่อยในปาก
เมื่ออาหารถูกเคี้ยวให้มีขนาดเล็กลง และคลุกเคล้าด้วยน้ำลาย น้ำลายมีเอนไซม์ย่อยแป้งและไกลโคเจนให้โมเลกุลเล็กลง เอนไซม์ อะไมเลส เป็นตัวย่อยคาร์โบไฮเดรตไดดีในสภาวะที่เป็นกลางหรือด่างอ่อนๆ บางส่วนถูกย่อยเป็นเดกซ์ตรินและโอลิโกแซคคาไรดีบางกรณียาอยได้ถึงมอลโตส
1.2 การย่อยในกระเพาะ
อาหารที่เคี้ยวละเอียดเคลื่อนที่ไปถึงกระเพาะ อะไมเลสยังคงย่อยแป้งและไกลโคเจนต่อไปอีกระยะหนึ่ง ช่วงเวลานี้ขึ้นอยู่กับปริมาณอาหารในกระเพาะ ทำให้อาหารที่รับประทานเข้าไปอยู่ในสภาวะกรดการย่อยคาร์โบไฮเดรต อะไมเลสจากน้ำลายยุติลง กรดเกลือที่กระเพาะผลิตขึ้นช่วยย่อยอาหารโปรตีน ย่อยซูโครส หรือน้ำตาลทรายเป็นกลูโคสและฟรุกโตสได้
1.3 การย่อยในลำไส้เล็ก
คาร์โบไฮเดรตส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ลำไส้เล็ก อารหารเหลวในสภาวะ กรดเคลื่อนไปถึงลำไส้เล็กตอนบน อาหารเหลวนี้กระตุ้นให้ต่อมในผนังเยื่อเมือกของลำไส้เล็กผลิต เอนไซม์ ฮอร์โมนที่กระตุ้นให้ตับอ่อนผลิตเอนไซม์เพื่อย่อยคาร์โบไฮเดรต คือ ฮอร์โมนซีครีติน(secretin) , แพนครีโอไซมิน (pancreozymin) ฮอร์โมนเอนเตอโรครินิน (enterocrinin) กระตุ้นให้ต่อมในผนังเยื่อเมือกลำไส้เล็กผลิตน้ำย่อยในลำไส้เล็ก เอนไซม์จากตับอ่อนมีหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรต อะไมเลส เป็นชนิดเดียวกันในน้ำลาย อะไมเลสนี้ย่อยคาร์โบไฮเดรตต่อจนถึงโอลิโกแซคคาไรด์ กิ่งก้านในโมเลกุนของแป้งและไกลโคเจน กลูโคส มอลโตไตรโอสและมอลโตส การย่อยแซคคาไรด์เป็นโมโนแซคคาไรด์ เอนไซม์พวกไดแซคคาริเดส (disaccharides) คือ sucrase, lactase, maltese, isomaltase ย่อยไดแซคคาไรด์เป็นโมโนแซคคาไรด์ ส่วนใหญ่เป็นกลูโคส ฟรุคโตสและกาแลคโตส ส่วนใหญ่ร่างกายย่อยได้ คือ แป้ง น้ำตาล ไดแซคคาไรด์ และไกลโคเจนย่อยได้ดี โอลิโกแซคคาไรด์สูงกว่าไดแซคคาไรด์ เช่น แรฟฟิโนส สตาคีโอส ร่างกายย่อยได้ไม่มาก ส่วนโพลีแซคคาไรด์ย่อยไม่ได้ คือ เซลซูโลส เฮมิเซลลูโลสและเพคติน ที่ย่อยไม่ได้ทั้งหมด
3 Metabolism Pathway
-
3.4 Gluconeogenesis
กลูโคนีโอจีนีซิส เป็นกระบวนการสังเคราะห์น้ำตาลกลูโจากสารอาหารชนิดอื่น เช่น กรดแอมิโน หรือ กลีเซอรอล หรือ กรดแล็กทิก
3.2 Krebs’cycle
วัฏจกรดไตรคาร์บอกซิลิก ในการผลิต ATP รวมทั้ง NADH+H+FADH2 เข้าสู่ปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นสร้าง ATP ต่อไป เกิดขึ้นบริเวณเมทริกซ์ ซึ่งเป็นของเหลวในไมโทคอนเดรีย โดยมีการสลาย แอซิทิลโคเอนไซม์ เอ ซึ่งเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เก็บพลังงานจากปฏิกิริยาดังกล่าวว่าไว้ในรูป NADH FADH2 , ATP การย่อยสลายสารใดๆให้สมบูรณ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และต้องเข้าวัฏจักรนี้เสมอ ขั้นตอนการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดในการหายใจระดับเซลล์
3.5 Glycogen Metabolism
น้ำตาลในเลือดต่ำลง glycogen จะถูกสลายและปล่อยออกมาในรูปของ glucose โดยตับ เพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือด
3.1 Glycolysis Pathway
สลายกลูโคสซึ่งมีคาร์บอน 6 อะตอมให้เป็นกรดไพรูวิก(pyruvic acid) ซึ่งมีคาร์บอน 3 อะตอม 2 โมเลกุล ปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 2 ตอน มีการใช้พลังงานในการกระตุ้นกระบวนการ 2 ATP ส่วนกระบวนการหลังจะมีการสร้างพลังงาน 4 ATP “ตอนแรกใช้ไป 2 ATP สร้างได้ 4 ATP พลังงานสุทธิ 2 ATP และมีการดึงไฮโดรเจนและอิเล็กตรอนออกมาได้โดย NAD+NADH+H+2 โมเลกุล
5 โรคเบาหวาน
เกิดจากความผิดปกติของร่างกาย ที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง โดยในระยะยาวจะส่งผลให้เกิดการทำลายหลอดเลือด และนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่รุนแรงมากขึ้น
2 การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตอยู่ในรูปมอโนแซ็กคาไรด์เท่านั้น จะถูกดูดซึมผ่านเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือดได้ กลไกการดูดซึมมอโนแซ็กคาไรด์ผ่านเซลล์เยื่อบุผนัง 2 แบบ
-
-
Glucose In the blood
Hyperglycemia
น้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าเกณฑ์ค่าปกติ มากกว่า 99 มก./ดล. หลังมื้ออาหาร 2 ชม. อาการพบบ่อยคือ ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำบ่อย น้ำหนักลด ผิวแห้ง รู้สึกหิวแม้จะพึ่งกิน อ่อนเพลีย สายตราพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด ซึ่งถ้าภาวะน้ำตาลในเลือดสูง บางทีไม่ได้แสดงอาการให้เห็นเสมอไป
Hypoglycemia
ภาวะร่างมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัม/เดซิลิตร มักทำให้เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลียซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุภาวะน้ำตในเลือดต่ำนั่นมีโอกาสเกิดขึ้นสูง อาการพบบ่อยคือ หัวใจเต้นเร็ว เวียนศรีษะ ปวดศีรษะ ฉุนเฉียวง่าย กังวล สายตาพร่ามัว เหงือออกมาก หิวบ่อย อ่อนเพลีย ตัวสั่น