Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำ และการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำ
และการไหลเวียนเลือด
ภาวะบวมน้ำ (EDEMA)
ภาวะน้ำในช่องว่างเซลล์หรือในเซลล์มากกว่าปกติ
ภาวะการบวมน้ำ สามารถจำแนกน้ำหรือของเหลว
Transudate ของเหลวแบบใส
Exudate สารคัดหลั่ง
สาเหตุ
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือด
เพิ่มขึ้น
Lymphatic obstruction ภาวะบวมน้ำเหลือง
Oncotic pressure ลดลงในเลือด
Oncotic pressure ลดลง
Hydrostatic pressure เพิ่มขึ้น
เลือดคั่ง
เลือดคั่ง (HYPEREMIA)
Active hyperemia เลือดมาคลั่งที่หลอดเลือดแดงมากกว่าปกติเนื่องจากหลอดเลือดแดงขยาย
ส่วนมากพบในการอักเสบโดยบริเวณนั้นจะมีเลือดเพิ่มมากขึ้นบวมหรือแดงและอาจร้อน
จะมีลักษณะสีชมพูหรือแดงเนื่องจากมีเม็ดเลือดแดงคลั่งจำนวนมาก
เลือดคั่ง (CONGESTION)
เลือดดำคลั่งในหลอดเลือดไหลเวียนไม่ได้ปกติเนื่องจากมีการขัดขวางการไหลกลับของหลอดเลือด
เลือดบริเวณที่คลั่งมีจำนวนออกซิเจนน้อนจึงเห็นเป็นนสีเขียว
คล้ำ หรือออกม่วง เรียกว่า cyanosis
มักเกิดร่วมกับการบวมน้ำ
เกิดจากหลอดเลือดแตก และภาวะหลอดเลือดอุดตันหลอดเลือดหดเกร็งตัว ภาวะเลือดหนืดจากไขมันในเส้นเลือดสูง
เลือดออก (HEMORRHAGE)
อาการเลือดออก
(external hemorrhage)เลือดออกภายนอกอาการเลือดออกที่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย เช่น เลือดออกจากบาดแผลที่ผิวหนัง เลือดกำเดา
(internal hemorrhage)เลือดออกภายในอาการเลือดออกที่ไม่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย เช่น เลือดออกในสมอง (เส้นเลือดในสมองแตก)
สาเหตุการเกิดเลือดออก
การฉีกขาดของผนังหลอดเลือดจากของมีคม
การฉีกขาดของผนังหลอดเลือดโดยตรงจากเชื้อโรคหรือสารพิษต่างๆ
จาการอักเสบหรือเนื้องอกต่างๆ
ขบวนการการแข็งตัวของ
เลือเกิดความผิดปกติเช่น การขาดเกล็ดเลือด
การที่เลือดไหลออกจากหลอดเลือดที่ฉีกขาด ไม่ว่าภายในหรือภายนอกร่างกายหรือการเสื่อมสภาพของผนังหลอดเลือดโดยไม่มีการฉีกขาด
ECCHYMOTIC HEMORRHAGEปื้นเลือด หรือแต้มเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ ซึ่งจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-2 เซนติเมตร หรือเรียกว่า “ ecchymosis ” ซึ่งลักษณะของเลือดออกทั้ง 3 แบบที่พบ มักจะเป็นลักษณะพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นกับบริเวณผิวของเยื่อชุม (serosal and mucosal surface) ของอวัยวะต่าง ๆ
PURPURA HEMORRHAGEจ้ำเลือดขนาดเล็ก ประมาณ 2 มม.-1 ซม. เกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ การแตก หรือ การอักเสบของหลอดเลือดขนาดเล็กใต้ผิวหนัง หากเป็นหลอดเลือดฝอยแตก จ้ำเลือดนั้นจะแบนเรียบ หากเป็นหลอดเลือดอักเสบ (vasculitis) เวลาลูบจะรู้สึกว่ามันนูน
PETECHIAL HEMORRHAGEจุดเลือดออกที่ผิวหนังขนาดไม่เกิน 2 มม. เกิดจากการรั่วของเลือดจากหลอดเลือดฝอยในภาวะที่ถูกบีบรัดนาน ๆ หรือมีแรงดันในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น เช่น ไอ ยกของหนัก เบ่งคลอดลูก นอกจากนั้นยังพบในภาวะที่มีเกล็ดเลือดต่ำ, ภาวะขาดวิตามินซี, และในโรคติดเชื้อบางชนิด
SHOCK
CARDIOGENIC SHOCK
ภาวะช็อกจากโรคหัวใจ เป็นสภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดให้เพียงพอต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายอย่างกะทันหัน ความดันโลหิตจึงลดลงและอาจทำให้การทำงานของอวัยวะล้มเหลวได้ แม้จะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้ยาก แต่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันที
สาเหตุ
การไหลกลับของเลือดมายังหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง
การสูบฉีดดล้มเหลว
VASOGENIC SHOCK
หลอดเลือดมีการขยายตัวมากทำให้เลือดคลั่งในหลอดเลือด
แรงต้านของหลอดเลือดต่ำการฉูบฉีดเลือดสูงแต่มีการใช้ O2 ลดลง
เนื้อเยื่อขาดเนื่องจากปริมาณเลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจลดลง
NEUROGENIC SHOCK
ภาวะช็อคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท
ความดันโลหิตต่ำ (hypotension) เนื่องจากการสูญเสียการทำงานของระบบประสาท ซิมพาเธติก (sympathetic outflow)
SEPTIC SHOCK
เป็นภาวะเร่งด่วนที่พบได้บ่อยในห้องฉุกเฉิน นับว่า เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำาคัญอันเนื่องมาจากมีการดำาเนินของโรคที่รวดเร็ว รุนแรงและมีอัตราการ เสียชีวิตสูง
ANAPHYLACTIC SHOCK
ฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงอย่างเฉียบพลันเมื่อร่างกายได้รับสารกระตุ้นบางอย่าง เช่น อาหารหรือยาบางชนิด แมลงกัดต่อย หรือสารอื่น ๆ เนื่องจากระบบภูมิต้านทานของบุคคลนั้นไวต่อสารกระตุ้นดังกล่าวมากกว่าคนปกติ ส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายพร้อมกัน ต้องได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
HYPOVOLEMIC SHOCKที่พบบ่อยที่สุด โดยมีสาเหตุ
Internal fluid lossการสูญเสียน้ำภายในร่างกายเช่นการอักเสบหรือการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อต่างๆ
External fluid lossการสูญเสียน้ำออกมาภาายนอกร่างกายในภาวะต่างๆรวมถึงการเสียเลือดด้วย