Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด
ภาวะน้ำบวม
ภาวะที่มีการสะสมของน้ำหรือของเหลวในช่องว่างระหว่างเซลล์หรือภายในช่องของร่างกายมากกว่าปกติ
การบวมน้ำหรือการสะสมของเหลวบอกความผิดปกติการควบคุมน้ำหรือของเหลว
Transudate
ของเหลวแบบใส
โปรตีนต่ำ
Exudate
ของเหลวแบบใส
โปรตีนสูง
สาเหตุ
Hydrostatic preesure ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
ในสตรีมีครภ์ ขาบวมจากมดลูกที่มีขนาดใหญ่กดทับ IVC
ผู้ป่วย Congestive heart failure
Oncotic preesure ลดลง
ผู้ป่วยโรคไตเสียโปรตีนกับปัสสาวะ
ผู้ป่วยโรคตับสร้างโปรตีนลดลง
Lymphatic obsyuction
พยาธิ filarianจะมี fibrosis ที่หลอดน้ำเหลือง ทำให้การระบายสารน้ำกลับ
ทางหลอดน้ำเหลืองไม่สะดวก
ผู้ป่วย Elephentiasis
เลือดคลั่ง
Hyperemia
ภาวะที่มีเลือดมากกว่าปกติค้างในหลอดเลือดหรือในช่องไซนูซอยด์
Active hyperemia เป็นการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดแดงมากกว่าปกติ
มีการคั่งของเมล็ดเลือดแดงปริมาณมาก ส่วนมากเป็นเลือดที่มีออกซิเจน
มักเกิดในรายที่มีการอักเสบ
อาจเกิดจากระบบซิมพาเธติกหรือการหลั้งสารที่มีผลต่อเลือด
Congestion
เป็นการที่มีเลือดดำคั่งในหลอดเลือด
เลือดที่คั่งเป็นเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนน้อย
ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาที่พบเช่นเดียวกับ active hyperemia มักเดิร่วมกับการบวมน้ำ
เลือดออก
เลือดที่ออกมากจากหลอดเลือดเนื่องจากหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาดโดยตรง หรือการเสื่อมสภาพของผนังหลอดเลือด
อาการเลือดออก
External hemorrhage เป็นการเลือดออกที่เห็นเลือดไหลออกมา เช่น บาดแผลที่ผิวหนัง เลือดกำเดา เลือดจากการถอนฟัน
Internal hemorrhage เป็นการเลือดออกที่ไม่เห็นเลือดไหลออกมานอกร่างกาย เช่น เลือดออกในสมอง เลือดออกในช่องท้อง
สาเหตุการเกิดเลือดออก
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาดโดยตรงจากของมีคม
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายโดยตรง จากเชื้อโรคที่ทำลายผนังหลอดเลือดหรือเกิดจากการเสื่อมสภาพ
หลอดเลือดได้รับอันตรายจากการอักเสบหรือเนื้องอก
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด เช่น การขาดเกล็ดเลือด
Petechial hemorrhage
เป็นจุดเลือดออกขนาดเล็กในชั้นผิวหนังหรือเยื่อบุสาเหตุ ความผิดปกติของผนังหลอดหรือความผิดปกติของระบบแข็งตัวของเลือด
purpura hemorrhage
จ้ำเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ มักเกิดร่วมกับความผิดปกติของเกล็ดเลือด
Ecchymotic hemorrhage
ปื้นเลือด หรือแต้มเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ หรือเรียกว่า ecchymosis
SHOCK
Hypovolemic shock
External fluid shock
การเสียเลือด
การเสียน้ำทางระบบทางเดินอาหาร
การสูญเสียน้ำทางไตจากผู้ป่วยเบาหวาน เบาจืด
การสูญเสียทางผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้ การมีไข้
Internal fluid shock
กระดูกหักภายใน อาจทำหใ้เลือดออกได้
การอักเสบในช่องท้อง
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ อวัยวะภายในฉีกขาด
Cadiogenic Shock
ภาวะที่หัวไม่สามารถบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายทำให้เลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลงส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลงตาม cell ขาดออกซเจน
พบบ่อยที่สุด คือ เกิดจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลวจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
สาเหตุ
การสูบฉีดล้มเหลว เกิดจาก กล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ
การไหลกลับของเลือดมายังหัวใจห้องล่างซ้ายปริมาณเลือดที่เข้าสู่หัวใจในระยะคลายตัวมีผลต่อปริมาณเลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาที ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจได้น้อย เช่น ภาวะเกิดการบีบรัดหัวใจ
Vasogenic shock
ภาวะ shock จากหลอดเลือดเป็นภาวะที่ทีการขยายตัวของเลือดมาก จนเกิดเลือดคั่งในหลอดเลือด
ต่อจากภาวะ shock อื่นคือมีแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายต่ำ และมีปริมาณเลือดที่สูบฉีดจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง เนื้อเยื่อจังขาดออกซิเจน
Neurogenic shock
เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติกและศูนย์ควบคมหลอดเลือด
เกิดจากการขยายตัวของหลอดเลือดทั่วร่างกาย เป็นผลให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หัวใจลดลง การขนออกซิเจนลดลง การกำซาบเนื้อเยื่อลดลง สุดท้ายคือเซลล์ขาดออกซิเจน
สาเหตุ
พยาธิที่สมองทำให้กระทบกระเทือนศูนย์ควบคุมที่ medulla เล่นสมองขาดเลือด
พยาธิสภาพที่ไขสันหลัง ทำให้สูนย์ควบคุมหลอดเลือดไม่สามารถควบคุม preganglionic vasoconstrictor nerve ได้เช่น ได้รับบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
Septic shock
ส่วนมากเกิดจากแบคทีเรีย gram-ve จะหลั่งสารพิษชนิด Endotoxin ในกระแสเลือด
มีผลค่อระบบไหลเวียน พบมากในผู้ป่วยอายุน้อย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยมะเร็ง
มีผลต่การกำซาบเลือดของร่างกาย
หลอดเลือดขยาย
กระตุ้นให้เกิดการหลั่ง tissue thromboplastin
การทำงานของหัวใจ เป็นสาเหตุทำให้เกิดภาวะ shock จากหัวใจ
ทำลายเซลล์ผนังหลอดเลือด
Anaphylactic shock
เกิดจากการแพ้สารหรือยาต่างๆ โยเมื่อร่างกายได้รับสารดังกล่าว ถือว่าเป็นสารกระตุ้นจะกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกันต่อสารนั้นขึ้นมา
ส่วนใหญ่เป็นพวก lgE เมื่อได้รับกระตุ้นอีกครั้งร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาแพ้สารได้