Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการทฤษฏีการบริหาร - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารเเบบดั้งเดิม
มุ่งเน้นองค์การที่มีรูปแบบเป็นทางการ
หลักการ 4 ประการ
การแบ่งงานตามความถนัด
ช่วงของการควบคุม
การแบ่งระดับชั้นสายการ บังคับบัญชา
เอกภาพในการจัดการ (มองคนเหมือนเครื่องจักร ไม่ให้ความสำคัญต่อมนุษย์ ปราศจากความยืดหยุ่น )
ทฤษฎีการจัดการสมัยนี้
ระบบราชการ (Bureaucracy)
ทฤษฎีการบริหาร (Administrative Theory)
การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
เป็นกระบวนการจัดการที่อาศัยหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ ในการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพ ใช้หลักเหตุผล สามารถพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้
Taylor
กำหนดหลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ 4 ข้อคือ
2.หลักการคัดเลือกบุคลากร
3.หลักการร่วมมือของฝ่ายบริหารกับฝ่ายปฏิบัติ
1.หลักการวิเคราะห์งานตามหลักวิทยาศาสตร์
4.หลักการแบ่งงานกันทำของผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติ
ทฤษฎีการบริหารสมัยใหม่
ทฤษฎีระบบ(System theory)
ผู้คิดค้น : Bertalanffy บิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่ว ไป (General system Theory )
องค์ประกอบของทฤษฎีระบบ
2.กระบวนการแปรสภาพ (Tranformation Process)
3.ผลผลิต (Outputs)
1.ปัจจัยน าเข้า (Inputs)
4.ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back)
5.สิ่งเเวดล้อม
การรื้อปรับระบบ(Reengineering)
Michael Hammer และ James Chammy ได้กล่าวว่าเป็นการเปลี่ยนเเปลง เเนวการบริหารจัดการเเบบใหม่ ซึ่งแตกต่างจากแนวการบริหารจัดการธุรกิจแบบเดิมโดยสิ้นเชิง มีจุดมุ่งหมายให้ผลการทา งานดีขึ้นในหลายๆด้าน และก่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ
ทฤษฎีการบริหารเชิงปริมาณ
(Quality Theory)
นำเอาเทคนิคคณิตศาสตร์และวิธีการเชิงสถิติเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา
แนวคิดที่สำคัญ
2.การจัดการปฏิบัติการ (Operations Management)ให้ ความสำคัญกับกระบวนการผลิตและการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ
3.ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS) เป็ นการบริหารจัดการทีมุ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลและการส่งข้อมูลใช้โปรแกรมคอมผิวเตอร์เข้ามาช่วย
1.การบริหารศาสตร์ (Management Science) เพื่อช่วยให้ผู้จัดการทำการใช้ทรัพยากรองค์การเพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์และบริการให้มากที่สุด
ทฤษฎีการบริหารเชิงมนุษย์สัมพันธ์
นักบริหารมีความเชื่อ " งานใด ๆ จะบรรลุผลสำเร็จได้
จะต้องอาศัยคนเป็นหลัก"
มนุษย์สัมพันธ์ จะนำไปสู่ความพอใจและสะท้อนถึงผลของการปฏิบัติงาน
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์
มุ่งเน้นให้ ยอมรับกันว่าในทางปฏิบัติไม่มีวิธีการบริหารใดที่ดีที่สุด (on one best way) วิธีการบริหารจะไม่ตายตัว ใช่เทคนิคหลายๆอย่างมารวมกัน
ฟิดเลอร์
(Fred Fiedler)
เสนอแนวคิดว่าประสิทธิผลของผู้นำอยู่กับความเหมาะสมระหว่างรูปแบบผู้นำและสถานการการณ์
ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Last Perferred Co-worker : LPC ในการประเมินรูปแบบผู้นำ ว่ารูปแบบเน้นความสำคัญหรืองาน
พัฒนารูปแบบจำลอง “ความเป็นผู้นำตามสถานการณ์”
ฟิดเลอร์เชื่อว่าถ้ารูปแบบภาวะผู้นำ ไม่เปลี่ยน ดังนั้นต้องมีการเปลี่ยนสถานการณ์ให้เข้ากับภาวะผู้นำ
วรูมและเยตัน
เสนอทฤษฎีความเป็ นผู้น าเชิงสถานการณ์ Leader Participation Model
หลักการสำคัญ คือการเน้นเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของผู้นำโดยเปิดโอกาสให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
โรเบิร์ต เฮาส์
(Robert House)
เสนอแนวคิดทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมาย (Path-goal Theory) กล่าวว่า ภาวะผู้นำ เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจใช้แรงจูงใจเป็นแรงผลักให้ไปสู่เป้าหมายทั้งส่วนบุคคลและขององค์การ
ทฤษฎีการบริหาร x ทฤษฎี y ของเเมคกรีกอร์(Douglas MC Gregor)
แมคเกรเกอร์ชี้ให้เห็นว่า คนมี 2 ประเภท และการบริหารคนทั้ง 2 ประเภท ต้องใช้วิธีการบริหารแตกต่างกัน
ทฤษฎี Y หรือการมีส่วนร่วม ซึ่งทฤษฎี Y คือคนประเภทขยัน ควรมีการกำหนดหน้าที่การงานที่เหมาะสมท้าทายความสามารถสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเชิงบวก
ทฤษฎีX
มีลักษณะเป็นเผด็จการซึ่งทฤษฎี X คือคนประเภทเกียจคร้าน ในการบริหารจึงควรใช้มาตรการบังคับ มีระเบียบกฎเกณฑ์คอยกำกับ มีการควบคุมการทำงานอย่างใกล้ชิด และมีการลงโทษเป็นหลัก
ทฤษฏี Z (Z Theory) ของ อูชิ (William G. Ouchi)
ทฤษฎี Z เป็นทฤษฎีทางการบริหารธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานระหว่างการบริหารธุรกิจแบบสหรัฐอเมริกา หรือ Theory A กับการบริหารแบบญี่ปุ่น หรือ Theory J
ทฤษฎี Z เป็นทฤษฎีบริหารงานที่ได้รับการยอมรับในวงการ บริหารในยุคปัจจุบัน โดยเน้นความร่วมมือในการทำงานของ คนงานและเน้นหลักมนุษยสัมพันธ์เป็นสำคัญ
ทฤษฎี A เป็นแนวความคิดการจัดการของสหรัฐอเมริกาซึ่งองค์การเน้นการจ้างงานระยะสั้น พนักงานมีส่วนร่วมและความรับผิดชอบต่อองค์การน้อย
ทฤษฎี J เป็นแนวความคิดการ จัดการของญี่ปุ่นซึ่งองค์การเน้น การจ้างงานตลอดชีพ พนักงานมี ส่วนร่วมและความรับผิดชอบต่อ องค์การสูง