Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำ และการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำ
และการไหลเวียนเลือด
ภาวะบวมน้ำ (EDEMA)
ภาวะที่มีการสะสมของน้ำหรือของเหลว (fluid) ใน
ช่องระหว่างเซลล์
บ่งบอกถึงความผิดปกติของการควบคุมปริมาณน้ำ
สาเหตุ
Oncotic pressure ลดลง
Lymphatic obstruction
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือด
เพิ่มขึ้น
เลือดคั่ง (HYPEREMIA และ CONGESTION)
ภาวะที่มีเลือดปริมาณมากกว่าปกติคั่งค้างในหลอดเลือด
ในช่องไซนูซอยด์ของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะต่างๆของร่างกาย
Active hyperemia
การที่มีเลือดมาคั่งในหลอดเลือดแดง (artery circulation) มากกว่าปกติ
มีการขยายตัวของหลอดเลือดแดง
ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นมีสีแดงหรือชมพูกว่าบริเวณอื่นๆ
กลไกการอักเสบทำให้เลือดไปเพิ่มขึ้น แดง ร้อน
Passive hyperemia
เป็นการที่มีเลือดดำคั่งในหลอดเลือด
เนื่องจากมีการขัดขวางการไหลเวียนกลับของเลือดดำ
เลือดที่คั่งเป็นเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนน้อย
ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาที่พบเช่นเดียวกับ
active hyperemia และมักเกิดร่วมกับการบวมน้ำ
เลือดออก (HEMORRHAGE)
ภาวะที่มีเลือดออกมาจากหลอดเลือด
เนื่องจากหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาดโดยตรง
การเสื่อมสภาพของผนังหลอดเลือด
อาการเลือดออก แบ่งเป็น 2 ประเภท
Internal hemorrhage
อาการเลือดออกที่ไม่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย
เลือดออกในสมอง (เส้นเลือดในสมองแตก)
เลือดออกในช่องท้อง (เช่น ท้องนอกมดลูกแตก)
External hemorrhage
นอาการเลือดออกที่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย
บาดแผลที่ผิวหนัง เลือดกำเดา เลือดออกจากการถอนฟัน
สาเหตุ
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาด โดยตรงจากของมีคม
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายโดยตรง
เชื้อโรคที่ทำลายผนังหลอดเลือดหรือเกิดจากการเสื่อมสภาพ
ได้รับอันตรายจากผลการอักเสบหรือเนื้องอก
การขาดเกร็ดเลือด
PETECHIAL HEMORRHAGE
เป็นจุดเลือดออกขนาดเล็กในชั้นผิวหนังหรือเยื่อบุ
สาเหตุเนื่องจากมีความผิดปกติของผนังหลอดเลือด
ความผิดปกติของระบบแข็งตัวของเลือด
จ้ำเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อมักเกิด
ร่วมกับความผิดปกติของเกล็ดเลือด
ปื้นเลือด หรือแต้มเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ
SHOCK
ทำให้เกิดความไม่สมดุลของปริมาณเลือดที่ไหลเวียนในหลอดเลือด
ท าให้เกิดการไหลเวียนของเลือดล้มเหลว
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ลดลง
SHOCK แบ่งเป็ น 3 ประเภท
2.Cardiogenic shock
กระดูกหักภายใน อาจทำให้เลือดออกได้
การอักเสบในช่องท้อง เช่น peritonitis, pancreatitis,
obstruction of bowel
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ อวัยวะภายในฉีกขาด
3.Vasogenic shock
3.1 Neurogenic shock
เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของประสาทอัตโนมัติซิมพาเทติคและศูนย์ควบคุมหลอดเลือด
เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดทั่วร่างกา ทำให้เลือดกลับสู่หัวใจลดลง
3.2 Septic shock
เป็นภวะการติดเชื้อในกระแสเลือดซึ่งเกิดจากพิษของแบคทีเรีย
มีผลต่อระบบไหลเวียน พบมากในผู้ป่วยอายุน้อยหรือสูงอายุ
3.3 Anaphylactic shock
เกิดจากการแพ้สารหรือยาต่างๆ ซึ่งเป็นสารกระตุ้นจะกระตุ้นให้มีการสร้างภูมิคุุ้มกัน
ส่วนใหญ่เป็นพวก IgE เมื่อได้รับการกระตุ้นอีกครั้งร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาแพ้สาร
1.Hypovolemic shock
External fluid loss การสูญเสียน้ำออกมาภายนอกร่างกาย
Internal fluid loss การสูญเสียน้ำภายในร่างกาย