Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ - Coggle Diagram
การใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ
การดูแลผู้ใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ
ก่อนใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจดูแลเหมือนผู้ป่วยรับการผ่าตัดทั่วไป แต่การทำความสะอาดตำแหน่งที่ผ่าตัดใช้บริเวณหัวไหลข้างที่ไม่ถนัด
ขณะใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง
เมื่อใส่สายสื่อไปยังตำแหน่งที่ต้องการแล้วจดบันทึกลักษณะการกระตุ้นของเครื่อง อัตราเร็วของการกระตุ้น
ติดตามผล Chest X –Ray
หลังใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ
วัดสัญญาณชีพ
ติดตามภาวะหัวใจวาย และ Pneumothorax
สังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
สังเกตแผลที่ใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจทุกวัน
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลตนเองที่บ้าน
การจับชีพจรด้วยตนเอง โดยให้นั่งพักก่อน 5 นาที และจับชีพจรเต็ม 1 นาที
สามารถใช้เครื่องไฟฟ้าได้ตามปกติ
ให้สังเกตอาการที่บ่งบอกว่าเครื่องทำงานผิดปกติ เช่น เวียนศีรษะ เป็นลม เจ็บ หน้าอก หายใจตื้น ออ่นเพลีย
หากท่านใช้โทรศัพท์มือถือรุ่น Digital
ให้ระวังอันตรายจากกระแสไฟฟ้าอื่นๆที่มีความถี่สูง
ป้องกันการกระทบกระแทกบริเวณที่ฝังเครื่องไว ้
เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ (Cardiac Pacemaker/Artificial Pacemaker) เป็นเครื่องมือทำงานไฟฟ้าที่ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นหัวใจตำมที่กำหนด
Cardiac Pacemaker/Artificial Pacemaker มี 2 ชนิด คือ เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจชนิดชั่วคราว (Temporary pacemaker) และเครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจชนิดถาวร (Permanent pacemaker)