Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว - Coggle Diagram
โรคลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
สาเหตุ
อายุ เพราะเมื่อสูงอายุ เนื้อเยื่อหัวใจเสื่อมลง รวมถึงลิ้นหัวใจด้วย
การติดเชื้อต่างๆที่ลุกลามถึงการติดเชื้อของลิ้นหัวใจ และเยื้อบุหัวใจ
โรคหัวใจจากสาเหตอื่นๆ เช่นภาวะหัวใจล้มเหลว
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคความดันโลหิตสูง
โรคออโตอิมูน
ผลข้างเคียงจากยาลดน้ำหนัก
ลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ (Mitral valve stenosis)
สาเหตุ
ไข้รูมาติกเป็นสำเหตที่พบบ่อยที่สุด
พยาธิสภาพ
การอักเสบของลิ้นหัวใจทำให้เกิดความแข็ง หนา หดรัด ดึงรั้งของลิ้นหัวใจ ทำให้รูเปิดแคบลงเลือดไหลไม่สะดวกทำให้เกิดเลือดไหลวน
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได ้หอบเหนื่อยกลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation เขียว และ murmur
การรักษา
การใช้ยา ได้แก่ ยาขับปัสสาวะและควบคุมโซเดียม
การผ่าตัด ขยายลิ้นหัวใจ(valve repair)
การปรับพฤตกิรรม ควบคุมอาหาร จำกัดเกลือ งดบุหรี่ สุรา
ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว (Mitral valve regurgitation)
สาเหตุ
การติดเชื้อ การที่มีการเสื่อมของเนื้อเยื่อ ลิ้นหัวใจฉีกจากโรคบางโรค
พยาธิสภาพ
ลักษณะคล้ายกับลิ้นไมตรัลตีบ แต่ต่างกันที่จากการที่ปิดไม่สนิททำให้เลือดไหลย้อนจากเวนตริเคิลซ้ายไปเอเตรียมซ้าย
อาการ
ในระยะแรกไม่มีอาการ เมื่ออาการรุนแรงขึ้นจะพบหายใจลำบากขณะมีกิจกรรม เมื่อพักอาการจะหายไป ใจสั่น นอนราบไม่ได้ บวมกดบุ๋ม
การรักษา
ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลำง ให้ยาขับปัสสาวะ digitalis
ระยะรุนแรง มักรักษา โดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ(valve replacement)
ลิ้นหัวใจเอออร์ตาตีบ (Aorta valve stenosis)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิดและความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะลิ้นหัวใจ
พยาธิสภาพ
อาการจะค่อยเป็นค่อยไปใช้เวลาหลายปี จนลิ้นหัวใจมีรูตีบเล็กจึงปรากฎ อาการ
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบAngina หายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรงอ่อนเพลีย นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบกลางคืน
การรักษา
ระยะแรกรักษาตามอาการ โดยให้ยาและปรับพฤตกิรรม
ในระยะรุนแรง การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ดีที่สุด
ลิ้นหัวใจเอออร์ตารั่ว (Aorta valve regurgitation)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากไข้รูมาติกเชื้อแบคทีเรียหรือซิฟิลิส
พยาธิสภาพ
มักเกิดจากเยื่อบุหัวใจอักเสบติดเชื้อ หลอดเลือดเอออร์ต้า ฉีกขาด การบาดเจ็บของทรวงอก
อาการ
ใจสั่น หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ หายใจเหนื่อยตอนกลางคืน มีอาการเจ็บหน้าอก Angina หัวใจเต้นเร็ว
การรักษา
ระยะแรกและปานกลางรักษาตามอาการร่วมกับปรับพฤตกิรรม
ระยะรุนแรง การรักษาที่ได้ผลที่สุดคือการผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม