Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่
1.ความหมายของBig Data
การนำข้อมูลจำนวนมหาศาลที่ได้จากการให้บริการมาวิเคราะห์ เพื่อหาโอกาศทางธุรกิจใช้ประกอบการตัดสินใจในเรื่องสำคัญต่างๆทั้งการพัฒนาด้านการขายและการตลาด การปรับปรุงสินค้าบริการให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคยุคใหม่ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
10.ตัวอย่างการนำ Big Data ไปใช้
1.การพัฒนาผลิภัณฑ์
2.การคาดการณ์เพื่อการบำรุงรักษาเครื่องจักร
3.สร้างประสบการณ์ที่ดีกับลูกค้า
4.การตรวจสอบการโกงและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
5.การเรียนรู้ของเครื่องจักร
6.ปะสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
7.การขับเคลื่อนในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่
11.ตัวอย่างแบรนด์ต่างๆที่ใช้ Big Data ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1.การใช้ข้อมูลในการดึงดูดและรักษาลุกค้า
2.การใช้ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาผู้โฆณาและเสนอข้อมูลเชิงลึกทางการตลาด
3.การวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการจัดการความเสียง4.การใช้ข้อมูลในการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
2.องค์ประกอบที่สำคัญของข้อมูล
1.Device/Data Source(แหล่งที่มาของข้อมูล)
2.Gateway(ช่องทางการเชื่อมโยงข้อมูล)
3.Storage(แหล่งเก็บข้อมูล)
4.Anaiytics(การวิเคราะห์ข้อมูล)
5.Report/Action(การใช้ผลการวิเคาระห์ข้อมูล)
3.ลักษณะที่สำคัญของBig Data
1.ปริมาณ(Volume)ข้อมูลมีปริมาณมากสามารถนำไปวิเคาระห์แล้วได้ผลที่สะท้อนความเป็นจริง
2.ความหลากหลาย(Variety) รูปแบบของข้อมูลมีหลากหลายรูปแบบเช่น มีตาราง ภาพเสี่ยง ที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ประกอบการได้
3.ความเร็ว(veloclty)ข้อมูลถูกเก็บมาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วทำให้สามารถวิเคราะห์และตอบสนองได้อย่างทับท่วงที่
4.ความถูกต้อง(Veracity) ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมีระบบในการยืนยันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
5.คุณค่า(Value)ข้อมูลมีประโยชนืต่อการตัดสินใจเชิงรุรกิจและมีความสัมพันร์ เชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ของธุรกิจ
6.ความแปรพันได้(Variability) ข้อมูลมีความหลากหลายในการใช้งานสามารถนำมาปรับปรุงแบบเพื่อวิเคราะห์ได้หลายแบบ
5.รูปแบบข้องข้อมูล Big Data
1.ข้อมูลเชิงพฤติกรรม เช่น เซิร์ฟเวอร์ล็อก การคลิกเข้ามาดูข้อมูลทางเว็บไซต์ การมาใช้บัตรATM ในการกดเงิน
2.ข้อมูลภาพและเสียง เช่น วิดีโอ รูปภาพ เสียงที่ถูกบันทึก
3.ข้อมูลข้อความ เช่น การส่งข้อมูลทาง Message
4.ข้อมูลที่ถูกบันทึกว้ เช่น ข้อมูลทางการเเพทย์ ข้อมูลที่ได้จากสำรวจ ข้อมูลทางภาษี
5.ข้อมูลเวนเซอร์ เช่น ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ข้อมูลอุณหภูมิต่างๆ
4.วิวัฒนาการของBig Data
แนวคิดเรื่องข้อมูลขนาดใหญ่หรือBigDataจะเป็นเรื่องใหม่และเริ่มทำกันในไม่กี่ปีมานี้แต่ต้นกำเนิดของชุมข้อมูลขนาดใหญ่ได้มีการริเริ่มสร้างมาตั้งเเต่ยุค60และในยุค70โลกของข้อมูลก็ได้เริ่มและได้พัฒนาศูนย์ข้อมูลแห่งแรกขึ้น และมีการพัฒนาฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ขึ้นมาประมาณปี2005 เริ่มมีการตระหนักถึงข้อมูลปริมาณมากที่ผู้คนได้สร้างขึ้นมาผ่านสื่อออนใลน์
6.การจัดการข้อมูขนาดใหญ่(Big Data)
1.กำหนดกลยุทธ์เกี่ยวกับข้อมูล
2.รู้เเหล่งที่มาของข้อมูลขาดใหญ่
3.การเข้าถึงจัดการและจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่
4.การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
5.ตัดสินใจอย่างชายฉลาดและใช้ข้อมูลช่วย
9.วิธีการจัดทำ Big Data
1.ตั้งเป้าหมายถึงสิ่งเล็กไว้ก่อน
2.วางแผนรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่มีอยู่
3.จับตาความเคลื่อนไหวและเข้าใจแหล่งที่มาของข้อมูล
4.ฝึกหาความสัมพันธ์ของข้อมูล
5.จำลองข้อมูลขึ้นมา
6.แยกผลลัพธ์และข้อมูลรบกวนออกจากข้อมูลใหญ่
8.กระบวนการจาก Big Data สู่ความสัมพันธ์ของข้อมูล
1.Storage:การรวบรวมข้อมูลมาจัดเก็บ
2.Processing:การประมวลผล
3.Analyst: การวิเคราะห์และนำเสนอ
7.การนำBig Data ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
เพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนและลดความเหลื่อมล้ำโดยนำข้อมูลในระบบราชการจากหลายหน่วยงาน เช่น ข้อมูลสาธารณสุข ทะเบียนราชำรื ที่ตั้งของธุรกิจโรงพยาบาล สถานบำบัด สถานการณืจ้างงานฯ มาวิเคราะห์เชื่อมโยงกัน เกิดเป็นข้อมูลขนาดใหย่ Big Data ของภาครัฐ