Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายอาญา
หมายถึง กฎหมายมหาชน ว่าด้วยความผิดและโทษทางอาญา เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ความผิดระหว่าง...รัฐกับประชาชน... ผู้ฝ่าฝืนย่อมได้รับโทษ
รัฐ ดำเนินการ ป้องกันและปราบปราม ผู้เสียหายไม่ต้องร้องทุกข์หรือกล่าวหา
ยกเว้นความผิดอันยินยอมได้
ประเภท
ความรับผิดทางอาญา หมายถึง ทำหรือไม่ทำ ที่กฎหมายเขียนไว้ว่า นี่คือความผิด และกำหนดโทษไว้ แบ่งได้ดังนี้
ความผิดต่อแผ่นดิน
สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและสังคมส่วนรวม
ความผิดต่อส่วนตัว
ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว กฎเขียนไว้ชัดเจน
ลักษณะสำคัญ
รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย2560 คนไม่ต้องรับโทษ แต่ถ้า ทำเกี่ยวกับกฎหมายเขียนไว้ว่าผิดและใช้อยู่ในเวลานั้น กำหนดโทษไว้โดย ห้าม ลงโทษเกินกว่าโทษที่กฎหมายกำหนด ใช้บังคับการกระทำในไทยเ่านั้น
ตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร ใช้ภาษที่คนทั่วไปเข้าใจ
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
ไม่สามารถเพิ่มโทษได้ ถ้ากฎหมายไม่เขียนไว้ว่าผิด ในเวลานั้น แม้ว่าต่อมากฏหมายใหม่เขียนว่า ผิด แต่ก็ไม่สามารถเอากฎหมายใหม่ย้อนหลังมาตัดสินว่าผิด
เขียน ความผิดและกำหนดโทษไว้โดยชัดเจน เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน
หลักเกณฑ์
การกระทำ
ขั้นเตรียมการ
ไม่เป็นความผิด
ถ้ากฎหมายอื่น เป็นความผิดสำเร็จในตัวตามกฎหมาย
ขั้นลงมือกระทำ
ได้รับโทษสองในสามของความผิดสำเร็จ
เว้นแต่กฎหมายกำหนดว่าต้องรับโทษเต็ม
1.1 ทำแล้วแต่ทำไม่ตลอด
1.2 ทำแล้ว ทำไปตลอด แต่ทำไม่สำเร็จ
ขั้นความผิดสำเร็จ
ทำแล้ว สำเร็จ ดังเจตนาคนทำ
กระทำโดยเจตนา
การกระทำโดยเจตนา ปอ.ม.59 วรรค2 หลักเกณฑ์ของ
เจตนา
การกระทำโดยรู้สำนึกในการกระทำตั้งใจกระทำ
ต้องกระทำโดยประสงค์ต่อผล ย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำ
การกระทำโดยประมาทปอ.ม.59 วรรค2 หลักเกณฑ์ของ
ประมาท
ไม่มีเจตนากระทำผิด
กระทำไปโดยปราศจากการระมัดระวัง
ผู้กระทำอาจใช้การระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
การกระทำโดยไม่เจตนา
ผิดกฎหมาย และรับโทษ
ไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดหรือยกเว้นโทษ
เหตุยกเว้น การรับผิด ผู้กระทำไม่มีความผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
เหตุยกเว้นโทษ
กระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
กระทำตามคำสั่งเจ้าพนักงานก
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน10ปี
การกระทำความผิดเกียวกับทรัพย์ระหว่างสามีภรรยา
กระทำด้วยความจำเป็น
ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
ความผิดฐานทำร้ายร่างกาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ความผิดต่อเสรีภาพ
กักขัง ระวางโทษไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินหกพัน ทั้งจำทั้งปรับ
กักขังแล้วตาย ผู้กระทำต้องระวางโทษ
องค์ประกอบของความผิด
ทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต
ข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำ หรือไม่ทำ หรือจำยอมต้องกระทำ
กฎหมายแพ่ง
หลักเกณฑ์การให้การยินยอมเพื่อการรักษา และความสามารถของบุคคล
องค์ประกอบของความผิดฐานละเมิด และการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดปัญหาทางกฎหมายจากการประกอบวิชาชีพฯ
พยาบาลมีบทบาทอิสระและมีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น
ผู้ใช้บริการมีข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพดีขึ้น
มีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโรคได้จากสื่อต่างๆ
มีการคาดหวังการบริการในระดับสูง
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ไม่มีการอบรม ไม่เรียนรูู้วิธีใช้
ไม่รักษาอุปกรณ์เครื่องมือ
เครื่องมือมีความซับซ้อน
การใช้เวชระเบียนอิเล็กโทรนิกส์
มีโอากาศนำไปสู่การบันทึกที่ไม่สมบูรณ์หรือไม่ถูกต้อง
การให้บุคคลอื่นทำแทน
การจ่ายยา
ผู้ป่วยเรื้อรังให้ญาติมารับยาแทน
ทำให้ไม่ได้ประเมินภาวะสุขภาพก่อนจ่ายยา
ภาวะขาดแคลนพยาบาล
พยาบาลทำงานหนัก
มีโอกาศทำงานผิดพลาด
ผู้ใช้บริการจำนวนมาก มีปัญหาซับซ้อน
สื่อสังคม
การถ่ายรูปไปเผยแพร่ในสื่อออนไลน์
เสี่ยงต่อการละเมิดความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย
การจำหน่ายผู้ป่วยเร็วเกินไป
ผู้ป่วยยังต้องการการดูแลต่อเนื่อง
ไม่มีการส่งต่อ
ไม่สอนวิธีการดูแลตนเอง