Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดทางด้านชีวภาพทางการแพทย์
(Bio-Medical Model)
ชีวเคมี
ซีโรโตนิน (Serotonin)
อะเซททิลโคลีน (Acetyl choline)
นอร์อีพิเนฟรีน ( Norepinephrine)
กาบา (Gamma Aminobutyric Acid,GABA)
โดพามีน(Dopamine)
กายวิภาคสมอง
โพรงสมอง(Ventricle)โตกว่าปกติ
พบความผิดปกติในระดับเซลล์ บริเวณ lambic และ periventricle
พันธุกรรม
โรคจิตทางอารมณ์
โรคอัลไซเมอร์
โรคจิตเภท
ประสาทสรีรวิทยา
การทำงานของสมองส่วน frontal lobe ลดลง
ระบบ Cerebral blood flow และ glucose metabolism
แนวทางการบำบัดรักษา
กระแสไฟฟ้า
ECT
การผ่าตัด
ยา
การนำมาประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
พยาบาลกำหนดปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย
ประเมินผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาล
พยาบาลรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยทางชีวภาพที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต
แนวคิดทางด้านจิตสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
พฤติกรรมทุกอย่างมีความหมายและไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
หลักการทำงานของจิต 6อย่าง
สัญชาตญาณ(Instinct)
Libido สัญชาตญาณทางเพศ เป็นพลังงานสร้างสรรค์
Mortido สัญชาตญาณแห่งความก้าวร้าว แข่งขัน ชิงดีชองเด่นเอาชนะกัน
ความขัดแย้งในใจ(Conflict)
Ego สูญเสียหน้าที่ในการรักษาสมดุลระหว่าง Id และ Superego
ความต้องการไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสม
โครงสร้างของจิตใจ(Structure of the mind)
อีโก้ (Ego)ตอบสนองความต้องการตามหลักความเป็นจริง
ซูเปอร์อีโก้(Superego)ตอบสนองความต้องการของอิด คำนึงถึงหลักแห่งมโนธรรม รู้สึกผิดชอบชั่วดี พัฒนาได้สมบูรณ์ในช่วง 9-10ปี
อิด (Id)ตอบสนองความต้องการตามหลักความพึงพอใจ
กลไกทางจิตใจ(Defense mechaniism)
2.Withdrawal
Repression การเก็บกด
Regression การถดถอย
Suppression การลืม
Fantasy การสร้างวิมานในอากาศ
Denial การปฏิเสธ
Conversion การเปลี่ยนแปลง
Dissociation การแยกจาก
3.Compromise
Sublimation การทดแทน
Undoing การไถ่บาป
Rationalization การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง
Compensation การชดเชย
Reaction formation ปฏิกิริยาตรงกันข้าม
Identification การเลียนแบบ
Displacement การย้ายที่
1.Aggression
Projection การโทษผู้อื่น
Introjection การโทษตนเอง (พฤติกรรมฆ่าตัวตาย)
ระดับบของจิตใจ(level of the mind)
จิตก่อนรู้สำนึก(The subconscious level)ใช้เวลาระลึกชั่วครู่ จิตใจส่วนนี้ดำเนินอยู่ตลอดเวลาในชีวิตประจำวัน
จิตไร้สำนึก (The unconscious level)ระดับจิตใจชั้นลึก ประกอบด้วยสัญชาตญาณ ไม่เปิดเผย
จิตรู้สำนึก (The conscious level)รู้ตัว ควบคุมด้วยสติ แสดงพฤติกรรมเหมาะสม
กระบวนการรักษา
มุ่งการแก้ไขข้อขัดแย้ง
พัฒนาบุคลิกภาพ5ขั้น
ขั้นที่3 ขั้นอวัยวะเพศ(Phallic stage)อายุ3-5ปี
ขั้นที่4ขั้นพักหรือขั้นแฝง (Latency stage)อายุ6-14ปี
ขั้นที่2ขั้นทวาร (Anal stage)อายุ1ปี-3ปี
ขั้นที่5ขั้นเพศ (Genital stage)ระยะวัยรุ่น
ขั้นที่1 ขั้นปาก (Oral stage)อายุแรกเกิด-1ปี
ซิกมันต์ ฟอยด์ (Sugmund Freud)
ทฤษฎีจิตสังคม
บุคลิกภาพเป็นผลมาจากความสำเร็จหรือความล้มเหลวในการแก้ไขข้อขัดแย้ง
พัฒนากของบุคลิกภาพ8ขั้น
6-11ปี มีความสามารถ
12-17ปี มีความจงรักภักดี
3-5ปี มีจุดมุ่งหมาย
18-21ปี มีความรัก
1-3ปี มีความเต็มใจ
22-40ปี ดูแลเอาใจใส่
0-1ปี มีความหวัง
40 ปีขึ้นไป มีความฉลาด
อิริคสัน (Erickson)
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
พฤติกรรของมนุษย์มีรากฐานจากความปรารถนาพื้นฐาน2ประการ
1.ความพึงพอใจ(Satisfaction)การตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน เช่น หิว ง่วง
2.ความมั่นคงทางใจ(Security)สภาวะที่มีความสุข สบายใจ จากการได้ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม
ระบบความเป็นตนเอง3ประการ
2.ฉันไม่ดี (Bad-me)ความรู้สึกที่ไม่ดีต่อตนเอง
3.ไม่ใช่ฉัน(Not-me)การปฏิเสธตนเอง
1.ฉันดี(Good-me)ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
พฤติกรรมและบุคลิกภาพเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช
มุ่งเน้นการแก้ไขประสบการณ์เดิมที่ไม่ดีของผู้ป่วย
พยาบาลเป็นต้นแบบในการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
พยาบาลสร้างความเชื่อถือไว้วางใจ
ซัลลิแวน (Harry strack Sullivan)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม(Behavioal Theory)
ทดแทนพฤติกรรมเดิมด้วยพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสมกว่า(มีสิ่งเร้า)
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช
ปรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ใช้แรงเสริมชนิดต่างๆ เช่น รางวัล คำชมเชย
พฤติกรรมทุกชนิดเกิดจากการเรียนรู้
ทฤษฎีทางสังคม (Social theory)
กระบวนการทางสังคมส่งผลต่อประสบการณ์และการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์
ทฤษฎีระบบ(System theory)
2.มนุษย์เป็นระบบเปิด ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
3.การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์
1.มนุษย์เป็นระบบเปิด มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
แนวทางการพยาบาล
ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมการรับรู้แก้ปัญหา
จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม
การพยาบาลแบบองค์รวม
ทฤษฎีกลุ่มนิยม
2.กลุ่มอัตนิยม(Existentialism)
Seren Kierkegaard และ Jean Paul Sartre
สอนให้มนุษย์ทุกคนมีความเป็นตัวเอง มีเสรีภาพในการเลือก ตัดสินใจด้วยตัวเอง
1.กลุ่มปรัชญา (Humanitic)
ความต้องการ5ขั้น
3.Love&Belonging ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ
4.Acceptation&Recognition ความต้องการการยอมรับและยกย่องจากคนอื่น
2.Safety ความต้องการความปลอดภัย
5.Self-actualization ความต้องการตระหนักรู้ในตนเอง
1.Physical ความต้องการด้านร่างกาย
ตัวตน3แบบ
ตนตามที่เป็นจริง(Real self)ตัวตนตามข้อเท็จจริง
ตนตามอุดมคติ(Ideal self)ตัวตนที่อยากมีอยากเป็นแต่ยังไม่มี ไม่เป็นในปัจจุบัน
ตนที่มองเห็นตน(self concept)ภาพที่ตนมองเห็นตนเองว่าเป็นอย่างไร
Maslow และ Carl Rogers
แนวคิดทางการพยาบาล
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย : (Roy’s Adaptation theory)
ช่วยในการตัดสินใจของผู้รับบริการ
ประกอบด้วย4 มโนทัศน์ ได้แก่ บุคคล สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาล
บุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยชีวภาพ จิตใจ สังคม รวมกันเป็นระบบ
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาล
ขั้น4การระบุปัญหา
ขั้น5การกำหนดเป้าหมายในการพยาบาล
ขั้น3การประเมินองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของผู้ป่วย
ขั้น6การเลือกกิจกรรมการพยาบาล
ขั้น2วิเคราะห์และตัดสินพฤติกรรมการปรับตัวของผู้ป่วย
ขั้น7การประเมินผล
ขั้น1ประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วย
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม(Orem’ self-care theory)
2.ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง
3.ทฤษฎีระบบการพยาบาล
ทดแทนบางส่วน
การพยาบาลแบบสนับสนุนและมห้ความรู้
ระบบทดแทนทั้งหมด
1.ทฤษฎีการดูแลตนเอง
ความสามารถในการดูแลตนเอง
ความต้องการเูแลตนเองทั้งหมด
การดูแลตนเอง
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
พยาบาลแยกแยะความบกพร่องในการดูแลตนเองของบุคคล
ช่วยเหลือให้บุคคล ครอบครัว และชุมชนได้ใช้ความสามารถในการดูแลตนเอง
เน้นเรื่องการดูแลตนเอง
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคชเพื่อการบำบัด(Interpersonal Relations theory)
ใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร สัมภาษณ์ ซักประวัติ
กระบวนการสร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการ มี4ระยะ
2.ระยะระบุปัญหา(Identification phase)ให้ผู้รับบริการระบายความคิด ความรู้สึก
3.ระยะแก้ปัญหา(Exploitation phase)ให้ผู้รับบริการมีการรับรู้ตนเองดีขึ้น
1.ระยะเริ่มต้น(Orientation phase)ช่วยให้ผู้รับบริการรับรู้โอกาส ไว้วางใจ
4.ระยะสรุป(Resolution phase)ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจในการมีสัมพันธภาพกับพยาบาล
เน้นกระบวนการสร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการ
บทบาทของพยาบาล
ผู้ให้คำปรึกษา
ผู้ทดแทน
ผู้ให้ข้อมูล
ผู้ชำนาการด้านเทคนิค
ผู้นำ
นักทฤษฎี Hilgard peplau