Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก - Coggle Diagram
การส่งเสริมเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก
การเจริญเติบโต
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
วัยรุ่นเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศหรือ sexual maturity rating
ซึ่งใช้การประเมินตามระบบของ Tanner แบ่งเป็นถขั้น
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
ปัจจัยเสี่ยงทางชีวภาพ
ทารกเกิดก่อนกำหนด
อายุครรภ์และน้ำหนักน้อยเกินไปทำให้ส่งผลต่อการพัฒนา
ปัญหาแทรกซ้อน เช่น ปัญหาทางสมอง เป็นต้น
ทารกที่เกิดครบกำหนดและมีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะขาดออกซิเจน ปัญหาทางสมอง ฯลฯ
มารดามีโรคประจำตัว เช่น โรคHIV เป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยงทางสภาพแวดล้อมและสังคม
มารดามีอายุน้อยหรือมากเกินไป มีการใช้สารเสพติด หย่าร้าง ปัญหาทางอารมณ์ ฯลฯ
การขึ้นของฟัน
ลำดับการขึ้น
ฟันน้ำนม – เริ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 0-6 เดือน โดยจะโผล่ออกมาจากเหงือกบวม ๆ และทำให้เจ้าตัวเล็กน้ำลายยืดตลอดเวลา ไม่สบายตัว และอาจทำให้เป็นไข้ได้
ฟันกระต่าย – เริ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 6-10 เดือน ในช่วงนี้ฟันคู่หน้าทั้งบนล่างจะเริ่มงอก อาจทำให้คุณแม่รู้สึกไม่ค่อยสบายนักเวลาให้นม
ฟันกราม – ช่วงอายุระหว่าง 10-14 เดือน ฟันกรามจะเริ่มงอกทำให้เด็กเจ็บจนอาจถึงขั้นไม่หลับไม่นอน
เขี้ยว – อายุ 1-2 ขวบ เขี้ยวจะเริ่มงอก และอาจทำให้เจ็บ ไม่สบาย หรือมีไข้ได้เช่นกัน
ฟันกรามส่วนที่ 2 – ฟันชุดสุดท้ายจะขึ้นในช่วงอายุ 2-3 ขวบ ซึ่งรวมถึงฟันกรามใหญ่ นั่นแปลว่าจะปวดและไม่สบายปากมากขึ้นสองเท่าด้วย
การส่งเสริมการเจริญเติบโต
ความสำคัญและประโยชน์ของการให้อาหารตามวัย
-ให้พลังงานและสารอาหารแก่ทารกเพิ่มเติมจากนมแม่
ช่วยให้ทารกปรับตัวเข้ากับการรับประทานอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลว
ให้คุ้นเคยกับความหลากหลาย นำไปสู่การทานอาหารแบบผู้ใหญ่
อาหารสำหรับเด็ก1-5ปี
ปัญหาด้านการเจริญเติบโต
ปัญหาการเติบโตในเด็กพบบ่อยทั้งภาวะตัวเตี้ยและตัวสูง โดยเฉพาะตัวเตี้ย ซึ่งภาวะตัวเตี้ยที่ผิดปกติและตรวจพบสาเหตุบ่อยที่สุด คือ ภาวะพร่องฮอร์โมนการเจริญเติบโต
ภาวะตัวเตี้ย
ความสูงน้อยกว่า -2 ค่าคะแนนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SDS) หรือน้อยกว่าเปอร์เซ็นต์ใกล้ที่ 3
ความสูงอยู่ในช่วง ± 2SDS แต่ความสูงสุดท้ายที่ได้จากการทำนายต่ำกว่าพันธุกรรมมากกว่า -2 SDS
อัตราการเพิ่มความสูงผิดปกติตามช่วงอายุ
มีการเบี้ยวลงของความสูงข้ามเส้นเปอร์เซ็นต์ใกล้อย่างน้อย 2 เส้น
โรคอ้วน
ในปัจจุบันปัญหาโรคอ้วนในเด็กมีเพิ่มมากขึ้น และถือเป็นโรคที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากโรคอ้วนส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆตามมา เช่น เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ไขมันเกาะตับ ปวดเข่า และสะโพกเป็นต้น
คำแนะนำในการบริโภคอาหารเพื่อป้องกันโรคอ้วน
-ให้นมแม่จนอายุ6เดือนหลังจากนั้นให้อาหารตามวัย
ควบคุมปริมาณอาหารที่บริโภค เด็กที่อายุมากกว่า2ปี ให้ลดไขมันอิ่มตัว
หลีกเลี่ยงอาหารที่ให้พลังงานสูงแต่สารอาหารต่ำ
หลีกเลี่ยงการกินอาหารfast food
ไม่ให้อาหารหรือขนมเป็นรางวัล
พัฒนาการเด็ก
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาเด็ก
พันธุกรรม
ภาวะทุพโภชนาการและสารอาหาร
ไอโอดีน,ธาตุเหล็ก
การเจ็บป่วยเรื้อรัง
การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อม
หลักการพื้นฐานของพัฒนาการ
Predictable sequence and rate
เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการเหมือนกันแต่อัตราช้าเร็วไม่เท่ากัน
Cephalo-caudal direction and Proximo
-distal direction
พัฒนากาารความแข็งแรงและความตึงของกล้ามเนื้อมีพัฒนาจากศีรษะไปเท้า
พัฒนาจากส่วนกลางไปส่วนปลาย
Interconnection between developmental domains
พัฒนาการทางด้านความสัมพันธ์
พัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเล็กและเข้าใจภาษา
Enriched environment
เป็นไปตามวุฒิภาวะของระบบประสาท แต่หากการส่งเสริมจะทำให้พัฒนาการล่าช้า
การเรียนรู้สังคม
พัฒนาการทางด้านภาษา
สาเหตุของพัฒนาการ การพูดช้า
สาเหตุของการพูดช้า ได้แก่ การได้ยินผิดปกติ ปัญญาอ่อน ออทิซึม สมองพิการ พัฒนาการทางภาษาผิดปกติ การเลี้ยงลูกไม่เหมาะสม ขาดการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อม และสาเหตุอื่นๆ
ปัญหาด้านพัฒนาการ
1.พัฒนาการด้านภาษาล่าช้า
2.โรคออทิซึ่ม
3.พัฒนาการล่าช้ารอบด้าน