Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนสะกดคำ - Coggle Diagram
การเขียนสะกดคำ
หลักการประวิสรรชนีย์
-
-
-
4.คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ถ้าพยางค์หน้าออกเสียกระ ดระ พระ พยางค์ท้ายของคำออกเสียง อะ ต้องประวิสรรชนีย์ 4.1:พยางค์หน้า ประโยชน์ ประกาศ พระพุทธ 4.2:พยางค์ท้าย คณะ ขณะ สมณะ ลักษณ์
5.คำที่มาจากภาษาทางประเทศตะวันออกได้แก่ ภาษาชวา จีน ญี่ปุ่น พม่า มาลายู ต้องประวิสรรชนีย์ทุกพยางค์ที่ออกเสียง อะ เช่น ชวา:มะเดหวี จีน:บะหมี่ ญี่ปุ่น:ซาดุระ พม่า:อังวะ
6.คำที่ขึ้นต้นด้วย สะ ซึ่งแผลงเป็น ตะ หรือ กระ ได้เสียง ตะ กระ ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น สะพานเป็น ตะพาน
7.คำเดิมเติม ร เข้าไปข้างหลังพยางค์ต้นของคำ ถ้าคำเดิมประวิสรรชนีย์อยู่แล้ว เมื่อเติม ร ลงไป ให้เลื่อนวิสรรชนีย์มาประที่ตัว ร เข่น จะเข้ เป็น จระเข้
8.คำที่มาจากภาษาอื่น ซึ่งคำเดิมไม่ประวิสรรชนีย์เมื่อนำมาเขียนให้ประวิสรรชนีย์ถูกต้องตามอักษรวิธีไทยของไทย เช่น ภาษาเขมร รลก ไทยใช้ ระลอก
หลักการไม่ประวิสรรชนีย์
-
-
3.คำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต และ ออกเสียง "อะ" ที่พยางค์หน้า ไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น กรณี กวี คณิตศาสตร์
-
- คำไทยแท้ซึ่งย่อมาจากคำอื่นๆ ไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ทนาย มาจากคำว่า ท่านนาย แทนนาย
6.ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ที่พยางค์หน้าออกเสียง อะ ไม่เต็มเสียงไม่ต้องประวิรรชนีย์ เช่น ถนน กบาล(ภาษาเขมร)สังขยา สลัด(ภาษามาลายู)
หลักการใช้-ัม-ำ
-
๒) เขียนคำที่มาจากภาษาอื่นซึ่งไม่ใช่คำบาลีสันสกฤตและคำภาษาชาติยุโรป เช่น กำปั่น กำยาน กำมะหยี่ สำราญ สำเริง สำปั้น ตำมะหงง
-
-
-
-
คำที่ใช้"ทร"ออกเสียง"ซ"
1.คำไทยแท้ที่ออกเสียง ซอ มักใช้ "ซ" เสมอ เช่น ซด ซน ซบ ซอกแซก ซึมซาบ ฯลฯ มียกเว้นบางคำ เช่น โซรม ไซร้ (ใช้อักษรควบ ซร)
2.คำที่รับมาจากภาษาเขมรซึ่งในภาษาเดิมใช้ ชร ไทยใช้รูป "ทร" และออกเสียง "ซอ" เช่น ทรง ทรวง ทราม ทรุดโทรม ฉะเชิงเทรา ฯลฯ
3.คำที่รับมาจากภาษาสันสกฤตซึ่งในภาษาเดิมใช้ ทร ไทยใช้รูป "ทร" และออกเสียง "ซอ" เช่น มัทรี อินทรีย์ นนทรี ฯลฯ
4.คำที่มาจากภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ออกเสียงซอ ใช้ "ซ" เช่น เซียมซี ซ่าหริ่ม ซุป เซลล์ ฯลฯ คำไทยที่ใช้ ทร ออกเสียง ซ มีอยู่ประมาณ ๑๙ คำ
-
หลักการใช้ไม้ยมก
1.ใช้ซ้ำคำ ที่เป็นคำชนิดเดียวกัน หรือเพื่อย้ำความหมายให้เด่น เช่น เร็ว ๆ ใกล้ๆ งูๆ ปลาๆ แดงๆ นกชนิดต่างๆ บ้านเป็นหลังๆ
-
-
- เมื่อรูปคำเดิมเป็นคำ ๒ พยางค์ ที่มีเสียงซ้ำกัน เช่น (๑) นานา เช่น นานาชาติ นานาประการ (๒) จะจะ เช่น เขียนจะจะ ดำนาจะจะ เห็นจะจะ
หลักการใช้ ส ศ ษ
-
-
หลักการใช้ ส มีดังนี้
-
-
-
๔.ใช้ในคำที่มาจากภาษายุโรป เช่น โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส , อัสดง ภัสดา
หลักการใช้น-ณ
ในภาษาไทยมีรูปพยัญชนะ ณ และ น เป็นพยัญชนะที่เป็นเสียงเดียวกัน แต่เนื่องจาก ณ เป็นพยัญชนะเดิมจึงใช้เขียนคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ส่วน น
เป็นพยัญชนะกลางจึงใช้เขียนคำในภาษาไทยและภาษาอื่นๆ ทั่วไป
การใช้ ณ
เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 19 ของอักษรไทย จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ อ่านออกเสียงว่า “ณอ เณร” และอักษร ณ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง พยัญชนะสะกด ให้เสียงในมาตรากนหรือแม่กน เช่น คุณ บัณฑิต
-
-
การเขียน"บัน"และ"บรร"
-
-
2.การใช้ “บรร” คำที่ใช้ บรร เป็นพยางค์หน้าของคำส่วนใหญ่แผลงมาจากคำ ประ หรือ บริ เช่น บรรจง มาจาก ประจง บรรจบ มาจาก ประจบ
-