Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหารจัดการ ด้านการควบคุมคุณภาพ(Controlling), การพัฒนางานพยาบาลเ…
เทคนิคการบริหารจัดการ ด้านการควบคุมคุณภาพ(Controlling)
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(Continuous Quality Improvement:
CQI)
เป็นกระบวนการที่กำลังดาเนินการประเมินคุณภาพของงานและการปรับปรุง
การบริหารคุณภาพโดยรวมม (Total Quality
Management: TQM)
เป็นเครื่องมือการประเมิน
ตรวจสอบการบริหารจัดการคุณภาพขององค์กรทั้ง
ด้านโครงสร้าง ด้านการบริหาร กระบวนการ และ
ผลลัพธทุกภาคส่วนตามโครงสร้างองค์การ ทุกมิติ
ของตัวชี้วัดคุณภาพผลลัพธ์
การประกันคุณภาพ (Quality assurance)
เป็นกระบวนการดำเนินงานอย่างมีแบบแผนและมีกิจกรรมที่เป็นขั้นตอน ต่อเนื่อง เป็นระบบในการวัดและประเมินคุณภาพบริการพยาบาล
การควบคุมคุณภาพ(Quality control) เน้นย้ำให้
พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติการตามมาตรฐานการพยาบาล (Nursing Standards) ที่มีการกำกับติดตามควบคุมโดยสภาการพยาบาลประกอบด้วย 3 หมวดคือ Nursing Organization ,Nursing Practices,
Nursing Outcome
สรุป
การควบคุมมาตรฐานการพยาบาล เพื่อกำกับติดตามการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ ยึดความถูกต้องตามศาสตร์การพยาบาลควบคู่กับความต้องการของผู้ใช้บริการและตัวชี้วัดการประกันคุณภาพของโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลนั้นๆ ประกันคุณภาพของโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลนั้นๆ ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ใช้บริการ
PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ
P = Plan ( ขั้นตอนการวางแผน )
ขั้นตอนการวางแผนครอบคลุมถึงการกำหนดกรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
D = Do ขั้นตอนการปฏิบัติ
คือ การลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอนการวางแผน ซึ่งในขั้นตอนนี้ต้องมีการตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ดำเนินไปในทิศทางที่ตั้งใจหรือไม่ เพื่อทำการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามแผนการที่ได้วางไว้
C = Check ( ขั้นตอนการตรวจสอบ )
การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ทราบว่า ในขั้นตอนการปฏิบัติงานสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ แต่สิ่งสำคัญก็คือ ต้องรู้ว่าจะตรวจสอบอะไรบ้างและบ่อยครั้งแค่ไหน เพื่อให้ข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบเป็นประโยชน์สำหรับขั้นตอนถัดไป
A = Action ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสม
ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้
การพัฒนางานพยาบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ประเภทของนวัตกรรม
บริการสุขภาพ
นวัตกรรมการบริการ(service model
innovation)
คือ นวัตกรรมที่พัฒนาระบบการ
บริการสุขภาพให้มีความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว
นวัตกรรมผลผลิต(product innovation)
คือ
นวัตกรรมที่เป็นการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แต่เดิมให้มีคุณภาพที่ดีขึ้นหรือเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ใน
ระบบการบริการสุขภาพ เช่น ยารักษาโรค วัคซีน
นวัตกรรมกระบวนการ (process
innovation)
คือ นวัตกรรมที่เป็นการ
พัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการวางแผนงาน
ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม
บริการสุขภาพ
วิเคราะห์ความต้องการใช้นวัตกรรม
กำหนดชื่อเรื่องนวัตกรรม
ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
สังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม
ออกแบบนวัตกรรมบริการสุขภาพเพื่อพัฒนางานด้านการปฏิบัติพยาบาล
สร้างเครื่องมือวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนวัตกรรมบริการสุขภาพ
สร้างคู่มือวิธีการใช้
นวัตกรรมบริการสุขภาพ
ทดลองใช้นวัตกรรมบริการ
สุขภาพกับกลุ่มเป้าหมาย
วัดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของนวัตกรรม
เขียนรายงานสรุปผล
ประโยชน์ของการพัฒนานวัตกรรมบริการสุขภาพ
ทำให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ใช้บริการได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยใช้นวัตกรรมบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ อันจะส่งผลให้ผู้ใช้บริการมีสุขภาพดีขึ้น
นวัตกรรมการพยาบาล
คือ การสรุปความรู้และวิธีการ
บนฐานของความรู้ เพื่อสร้างและพัฒนาให้เกิดสิ่งใหม่ในกระบวนการดูแลประชาชนให้มีความแตกต่างจากเดิมและเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ใช้บริการ