Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการผันแปรออกซิเจน ของปัญหาการหายใจในทุกระยะ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการผันแปรออกซิเจน
ของปัญหาการหายใจในทุกระยะ
Lung Cancer
Small cell carcinoma
Squamous cell carcinoma
Adenocarcinoma
Large cell carcinoma
ผลกระทบ
เนื้องอกลุกล้ำเข้าไปในเนื้อปอดที่อยู่รอบๆ ทางเดินหายใจ
เซลล์มะเร็งลุกลามไปต่อมน้ำเหลือง
เนื้อเยื่อมะเร็งปอดไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้
มีการกระจายของเนื้องอก
Diagnosis
CXR
Bronchoscopy
Sputum cytology
CT scan
Cell biopsy
Ventilation defect
Airway Obstruction
Airway constriction
Hypoventilation
การรักษา
ทางศัลยกรรม (Thoracotomy / Thoracoplasty)
Lobectomy
Wedge resection segmentectomy
Pneumonectomy
สำหรับผู้ป่วย CA lung ที่มีขนาดใหญ่มาก
เคมีบำบัด
ภูมิคุ้มกันบำบัด
รังสีบำบัด
ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดทรวงอก
Respiratory insufficiency
Bronchopleural fistula
Fever
Cardiac arrhythmia
TB : pulmonary tuberculosis
multiple droplet nuclei
Antituberculosis medication
ผู้ป่วยใหม่ สูตร 2HRZE/4HR
ผู็ป่วยรักษาซ้ำ สูตร 2HRZES5/1HRZE/5HRE
ผู้ป่วยดื้อยา (MRD) สูตร 6Km LfxEtoCs + PAS
or > 12LfxEtoCs + PAS (18 เดือน)
Directly Observed Therapy – Short Course (DOTS)
การรักษาโดยการควบคุมการกินยาภายใต้การสังเกตโดยตรง
Lung Abscess
ฝีเดียว (single lung abscess)
ฝีหลายอัน (Multiple lung abscess)
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะ
การผ่าตัด
ใส่ ICD
Pleural effusion
การรักษา
Thoracocentesis for fluid analysis / ICD
Pleurodesis
Lung Empyema
Acute phase หรือ Exudative phase
Transitional phase
Chronic phase หรือ Organizing phase
การรักษา
ทางศัลยกรรม
รักษาทางยา
Pulmonary embolism
Chronic obstructive pulmonary disease (COPD)
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic Bronchitis)
ถุงลมโป่งพอง (Pulmonary emphysema)
การรักษา
หยุดสูบบุหรี่
ใช้ยา
ยาขยายหลอดลม
กลุ่ม beta-adrenergic agonist
methylxanthines
anticholinergic
corticosteroid
ยาคอร์ติโคสเตอร์รอยด์
Pulmonary rehabilitation
Long term oxygen therapy
การพยาบาล
จัดท่าหัวสูง
ดูแลให้ O2 ความเข้มข้นต่ำ 1-3 ลิตร/นาที
ดูแลให้ได้รับพ่นยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
ให้น้ำ 2000-3000 cc/วัน
ลดกิจกรรม พักผ่อนให้เพียงพอ
เพิ่มอาหารโปรตีนและไขมัน
สอน purde lip breathing
หยุดสูบบุหรี่
กายภาพบำบัด
การฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม (Diaphragmatic breathing exercise)
การฝึกหายใจแบบหน่วงเวลา
( Purse lip breathing exercise )
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
(Strengthening exercise)
ระยะที่ 2
การฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม ( Diaphragmatic breathing exercise )
การฝึกหายใจแบบหน่วงเวลา
( Purse lip breathing exercise )
การฝึกหายใจเพื่อเพิ่มการยืดขยายทรวงอก
( Chest mobili ation e ercise )
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
( Strengthening exercise )
ระยะที่ 3
การฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม (Diaphragmatic breathing exercise )
การฝึกหายใจแบบหน่วงเวลา
( Purse lip breathing exercise )
ระยะที่ 4
เป็นระยะที่ผู้ป่วยออกกำลังกายในระยะที่ 3 ได้ดีแล้วและไม่มีอาการหอบเหนื่อย
Acute Bronchitis
รักษา
ให้ยาปฎิชีวนะ ยาขยายหลอดลม ยาบรรเทาอาการไอ
ให้ออกซิเจน
ให้ดื่ม 4000ml/วัน
Asthma
การประเมินสภาพ
ประวัติบุคคลในครอบครัว
ประวัติอาการหอบหืดที่เกิดขึ้นทันที
ได้ยิน wheezing ขณะหายใจออก
Serum IgE และ eosinophill สูงกว่าปกติ
ทดสอบสมรรถภาพของปอด FEV1 ลดลง
Bronchoscopy
Pneumonia
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง (congestion)
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว (Hepatization)
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว (Resolution)
ประเภท
Hospital-acquired pneumonia (HAP)
Ventilator-associated pneumonia (VAP)
Community acquired pneumonia (CAP)
Healthcare-associated pneumonia (HCAP)
รักษา
บำบัดด้วยออกซิเจน
การรักษาทางยาปฏิชีวนะ
ใส่ท่อระบายทรวงอก (Intercostal Intercostal drainage)
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Respiratory failure)
ภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดที่ 1
(hypoxic respirator failure
ภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดที่ 2
(ventilatory failure)
Adult Respiratory Distress Syndrome (ARDS)
การประเมินสภาพ/รักษา
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การตรวจรวจห้องปฏิบัติการ (ABG)
ตรวจพิเศษ (Chest X-RAY)
รักษาภาวะ Hypoxemia
รักษาสาเหตุ
ให้สารน้ำอย่างเหมาะสม
full ventilator support