Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารคุณภาพการพยาบาล นางสาวภาสินี หมาดง๊ะ เลขที่ 39 ห้อง 2 รหัส…
การบริหารคุณภาพการพยาบาล
นางสาวภาสินี หมาดง๊ะ เลขที่ 39 ห้อง 2 รหัส 611771001083
แนวคิดคุณภาพทางการพยาบาล
คุณภาพทางการพยาบาล
การกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
มาตรฐานการพยาบาล (Nursing Standards)
มาตรฐานเชิงกระบวนการ
การปฏิบัติการพยาบาล (Nursing practices)
มาตรฐานเชิงผลลัพธ์
ผลลัพธ์การพยาบาล (Nursing Outcome)
มาตรฐานเชิงโครงสร้าง
การบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Organization)
คุณลักษณะของคุณภาพ
Quality is about making organizations perform for their stakeholders,
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับคุณภาพขององค์การของเรา
And to making sure that the whole organization is fit and effective.
จะต้องมั่นใจว่า องค์การมีการบริหารงานที่เหมาะสมตามบริบทและมีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ และอาจมองไปถึงความต่อเนื่อง ยั่งยืน และไม่หยุดนิ่งในการพัฒนา
From improving products, services, systems and processes,
การให้คุณค่ากับ ผลิตภัณฑ์ สินค้า ผลงาน การบริการ ระบบ และกระบวนการการดำเนินงาน ในทางการพยาบาล
วัดในส่วนของการบริการที่มีมาตรฐาน การปลอดภัย หรือการรอดชีวิตของผู้ป่วย ความพึงพอใจในการใช้บริการในสถานพยาบาล หรือในหอผู้ป่วย
การควบคุมคุณภาพ (Quality control)
การประกันคุณภาพ (Quality assurance)
การพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement)
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous QualityImprovement: CQI)
การบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM)
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
คุณภาพการบริหารองค์กรพยาบาล
(Quality of Nursing Organization)
เป็นการกำหนดมาตรฐานเชิงโครงสร้าง มิติการบริหารองค์กรพยาบาล โดยกาหนดคุณลักษณะขององค์กรพยาบาล
ประเมินตัวชี้วัดคุณภาพ จากรูปแบบ ลักษณะ กระบวนการทางการบริหาร และการจัดการ
การควบคุมการบริหารงานองค์กรที่มีคุณภาพ
ผู้นาทางการพยาบาลต้องมีคุณลักษณะการตัดสินใจทางด้านวิชาชีพ
การบริหารงานมีการกระจายอำนาจ ใช้หลักการการบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม
พยาบาลทุกระดับมีส่วนร่วมในการคิดสร้างสรรค์และดำเนินงาน ด้านการจัดอัตรากาลังมีการจัดอัตรากำลังพยาบาลที่เพียงพอเพื่อให้พยาบาลดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง
คุณภาพบริการพยาบาล (Quality of Nursing Practices)
เป็นมาตรฐานเชิงกระบวนการ วัตถุประสงค์ของการควบคุมเพื่อให้พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ
เช่น ลดความรุนแรง ภาวะแทรกซ้อน ภาวะทุพพล-ภาพจากการเจ็บป่วย สามารถเพิ่มอัตราการรอดชีวิต
ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการบริการพยาบาล
คุณภาพผลลัพธ์การพยาบาล (Quality of Nursing Outcome)
เป็นมาตรฐานเชิงผลลัพธ์ สภาการพยาบาลได้กาหนดให้มีการควบคุมการปฏิบัติการพยาบาล
ใช้กระบวนการพยาบาลและผลลัพธ์พยาบาลโดยรวมของบริการพยาบาลและผดุงครรภ์ทั้งหน่วยงาน
ประเมินจากผู้ใช้บริการ
ความปลอดภัยจากความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ทั้งด้าน กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ความรู้ของผู้ใช้บริการเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
ผู้ใช้บริการได้รับการบรรเทาจากความทุกข์ทรมาน ทั้งด้านกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ใช้บริการ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการและสิทธิที่พึงได้รับ
รูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล
เป็นการตรวจสอบคุณภาพการรักษาพยาบาลผู้รับบริการ
เป็นองค์ประกอบสำคัญในการประเมินคุณภาพการให้บริการของทีมสุขภาพ
เป็นส่วนสาคัญในการรับรองคุณภาพสถานบริการโรงพยาบาลต่างๆ
การรวบรวมข้อมูล
การศึกษารวบรวมข้อมูลหลังจากจำหน่ายผู้ป่วย (Method of Retrospective Assessment)
การศึกษารวบรวมข้อมูลเป็นระยะขณะผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล (Concurrent Care Review)
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)
การประกันคุณภาพการพยาบาล (Quality assurance: QA)
เป็นกระบวนการดำเนินงานอย่างมีแบบแผนและมีกิจกรรมที่เป็นขั้นตอน ต่อเนื่อง
เป็นระบบในการวัดและประเมินคุณภาพบริการพยาบาล โดยบุคลากรที่อยู่ภายในหน่วยงาน สถานบริการสาธารณสุขนั้นทั้งด้านโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์
บทบาทสาคัญในกระบวนการรับรองการประเมิน
เป็นผู้นำแห่งการดูแล ควบคุม กากับติดตามการดำเนินงาน
มีการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ
การปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องนั้นต้องอาศัยประสบการณ์ ทักษะปฏิบัติการ
แนวคิดของ วิลเลียม เอ็ด เวิร์ด เดมมิ่ง (William Edwards Deming)
การปฏิบัติตามมาตรฐาน (Do)
การตรวจสอบผลการดำเนินการ (Check) โดยการวัดและประเมินผล
การวางแผน (Plan)
เป็นการกำหนดมาตรฐาน/ ระบบ/ แนวทาง
การแก้ไขปัญหา/ข้อบกพร่อง (Act)
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement: CQI)
เป็นกระบวนการที่กำลังดำเนินการประเมินคุณภาพของงานและการปรับปรุง
เครื่องมือในการประกันคุณภาพการพยาบาล
การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance)
เป็นการตรวจประเมินคุณภาพโดยหน่วยงานภายในหรือภายนอกก็ได้
ประเมินจากหน่วยงานภายใน เกณฑ์การประเมินจะถูกกำหนดโดยองค์กรภายในกำหนดขึ้นเอง
หากเป็นการตรวจรับจากองค์กรภายนอก เกณฑ์การตรวจประเมินก็จะถูกกาหนดโดยหน่วยงานหรือองค์กรภายนอกที่เข้ารับการตรวจประเมินนั้น
การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit)
เป็นการตรวจสอบคุณภาพโดยหน่วยงานตามเกณฑ์การประเมินของหน่วยงานที่ได้กาหนดและตั้งค่าเป้าหมายไว้
การประกันคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance)
Quality control
การบริหารองค์กรพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ผลลัพธ์การพยาบาล
Quality Accreditations
การรับรอง
Quality Audit
ตรวจสอบ
ประเมิน
เป็นการดำเนินการตามระบบควบคุมคุณภาพ มีการตรวจสอบและประเมินผลโดยหน่วยงานภายนอก
การรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
กลไกกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล ควบคู่ไปกับการเรียนรู้แลกเปลี่ยน และการรับรองจากองค์กรภายนอก
การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM)
เป็นเครื่องมือการประเมิน ตรวจสอบ
การบริหารจัดการคุณภาพขององค์กรทั้งด้านโครงสร้าง ด้านการบริหาร กระบวนการ และผลลัพธ์
ทุกภาคส่วนตามโครงสร้างองค์การ ทุกมิติของตัวชี้วัดคุณภาพผลลัพธ์