Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ใบงานเรื่องการพยาบาลภาวะฉุกเฉินทางสูติศาตร์ - Coggle Diagram
ใบงานเรื่องการพยาบาลภาวะฉุกเฉินทางสูติศาตร์
กรณีศึกษาที่ 2
1) ผู้คลอดรายนี้มีโอกาสเกิดภาวะใด และทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะใด
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
2) จงระบุสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลให้ภาวะดังกล่าว
ตรวจครรภ์พบ HF 38 cms ตัวโตขนาดศีรษะจะไม่สัมพันธ์กับช่องเชิงกราน
ทารกอยู่ในท่า LOA HPE
แพทย์ Set ARM Amniotic fluid thick meconium
3) จงระบุอาการและอาการแสดงของการเกิดภาวะดังกล่าว
กรณีศึกษา คลําพบลักษณะของหลอดเลือดเต้นที่ปลายนิ้วมืออัตราการเต้นเท่ากับ FHS ทารกมีตัวโต
Malpresentation หรือ Malposition พบบ่อยในเด็กท่าขวาง (Transverse lie, Shoulder presentation) เด็กท่าก้นชนิด Footling breech presentation แต่พบน้อยในเด็กท่าก้นชนิด Frank breech presentation
Contracted pelvis ทําให้ศีรษะเด็กไม่สามารถผ่านลงในช่องเชิงกรานได้ Cephalopelvic
disproportion หรือเด็กตัวโตกว่าปกติ
Twins Pregnancy เกิดจากส่วนนําไม่พอดีกับโพรงมดลูกส่วนล่าง หรือถุงน้ําแตกก่อนกําหนด
Prematurity ทําให้ไม่พอดีกับช่องทางคลอด
Polyhydramnios มีปริมาณน้ําคร่ํามากเกินไป จนส่วนนําไม่พอดีกับโพรงมดลูกส่วนล่าง
Long cord สายสะดือยาวกว่าปกติ (> 75 cms.) ถ้า < 35 cms. ไม่มีโอกาสเกิด
Long cord สายสะดือยาวกว่าปกติ (> 75 cms.) ถ้า < 35 cms. ไม่มีโอกาสเกิด
Placenta previa marginalist หรือ Low insertion of placenta ร่วมกับการมี Marginal insertion of the Cord (Battledore placenta) ทําให้สายสะดืออยู่ใกล้กับปากมดลูก
Operative obstetric สูติศาสตร์หัตถการต่าง ๆ เช่น การหมุนเปลี่ยนท่าเด็ก
Head float เมื่อถุงน้ําทูนหัวแตกหรือเจาะถุงน้ําทูนหัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่เป็นครรภ์หลัง
4) จงระบุการพยาบาลที่สําคัญที่จะป้องกันหรือแก้ไขอันตรายต่อผู้คลอดและทารกในครรภ์
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ํา
1 หากตรวจทางช่องคลอดพบภาวะสายสะดือพลัดต่ํา ให้ลดการกดของสายสะดือและดูแลให้
สิ้นสุดการตั้งครรภ์อย่างรีบด่วน
2 ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น หรือปรับท่าของผู้คลอดให้อยู่ในท่าที่ก้นสูงกว่าไหล่ เช่น นอนหงาย ยกก้นสูง (Trendelenburg’s position) นอนตะแคงยกก้นสูง (Elevated Sim’s position) นอนในท่าโก้งโค้ง (Knee chest position) ในกรณีที่ต้องการเคลื่อนย้ายผู้คลอดเพื่อส่งต่อในระยะไกลๆ เพื่อรักษาต่อควรให้นอน ในท่า Elevated Sim’s position ซึ่งท่าต่างๆ ที่ช่วยลดการกดของส่วนนําต่อสายสะดือ
3 ใช้มือข้างที่ตรวจภายในดันศีรษะทารกขึ้น เพื่อลดการกดบนสายสะดือ และดันศีรษะทารก ตลอดเวลาที่เตรียมการผ่าตัด เมื่อมีการคลอดสิ้นสุดจึงถอนมือออกมา
4 หลีกเลี่ยงการจับ คลํา กระตุ้นหรือผลักให้สายสะดือกลับเข้าไปในช่องคลอด เพราะการคลําหรือจับจะกระตุ้นทําให้สายสะดือหดรัดตัว (spasm) ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงทารกได้
5 ลดการกดดัน (Decompression) โดยการสอดมือเข้าไปในช่องคลอดและดันส่วนนําไว้ไม่ให้เคลื่อนต่ําลงมากดสายสะดือ ห้ามกด ห้ามดันหรือผลักสายสะดือเข้าไปในโพรงมดลูกเพราะจะทําให้เกิด อันตรายต่อมารกมากขึ้นจากการหดเกร็งของเส้นเลือดของสายสะดือ
6 ให้ออกซิเจนเพื่อให้ระดับออกซิเจนมารดาสูงขึ้น จะทําให้ทารกได้รับออกซิเจนมากขึ้น เพื่อลดภาวะทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนประมาณ 10-12 ลิตร/นาที จนการคลอดสิ้นสุด
7 เตรียมการช่วยเหลือการคลอดแบบฉุกเฉิน ถ้าทารกยังมีชีวิตอยู่และปากมดลูกเปิดไม่หมดให้เตรียมผ่าตัดฉุกเฉิน แต่ถ้าปากมดลูกเปิดหมดให้ใช้สูติศาสตร์หัตถกการ เช่น คีมหรือเครื่องดูดสุญญากาศช่วย
คลอด
8 ถ้าสายสะดือมีแนวโน้มจะโผล่ออกมานอกช่องคลอดควรพยายามให้อยู่ในช่องคลอด หากสาย
สะดือยื่นออกมานอกหนทางคลอดใช้ผ้าก๊อซชุบ NSS อุ่นห่อไว้ลด vasospasm ได้
9ทําให้กระเพาะปัสสาวะเต็มโดยการใส่น้ําเกลือ 500 - 700 มิลลิลิตรทางสายสวนปัสสาวะเพราะเชื่อว่ากระเพาะปัสสาวะจะช่วยดันส่วนนําของทารก และลดความรุนแรงจากการหดรัดตัวของมดลูกเรียกว่าbladder filling
10 ถ้าผู้คลอดได้รับยาส่งเสริมการหดรัดตัวของมดลูก ให้หยุดการให้สารละลายออกซิโตซิน
11 ดูแลภาวะจิตใจของผู้คลอด โดยอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และกิจกรรมที่ได้ให้กับผู้คลอด ใช้
ภาษาที่เข้าใจง่าย รวมทั้งทําความเข้าใจกับสมาชิกในครอบครัว
12 กรณีที่ทารกในครรภ์เสียชีวิต อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวเข้าใจ ดูแลการคลอดให้เป็นไปตามปกติ ยกเว้นการประเมินเสียงหัวใจทารก ถ้าคลอดล่าช้าควรดูแลให้ผู้คลอดได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัว
ของมดลูก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เฝ้าระวังการตกเลือด นวด คลึงมดลูก (กรณีที่คลอดทางช่องคลอด งดนวดมดลูกกรณีที่ผ่าตัดคลอด) Bimanual compression เป็นการใช้มือกดที่มดลูก ทําโดยกํามือข้างหนึ่งคลึงมดลูกทางหน้าท้องให้มดลูกอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง อาจต้องทําเป็นเวลานานจนกว่ามดลูกจะแข็งตัว
กรณีศึกษาที่ 1
1) ผู้คลอดรายนี้มีโอกาสเกิดภาวะใด และทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะใด
ตอบ ภาวะรกค้าง
2) จงระบุสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลให้ภาวะดังกล่าว
รกลอกตัวนานกว่า 30 นาที
เป็น G4P3-0-0-3 การตั้งครรภ์หลายครั้ง
3) จงระบะอาการและอาการแสดงของการเกิดภาวะดังกล่าว
รกลอกตัวนานกว่า 30 นาที
มารดาหลังคลอดมีเลือดออกทางช่องคลอดจํานวนมาก
4) จงระบุการพยาบาลที่สําคัญที่จะป้องกันหรือแก้ไขอันตรายต่อผู้คลอดและทารกในครรภ์
การพยาบาล
ในกรณีที่ไม่มีอาการของรกลอกตัวภายใน 30 นาที ผู้ทําคลอดควรปฏิบัติดังนี้
สวนปัสสาวะในกรณีที่มีกระเพาะปัสสาวะเต็มมีการคั่งค้างของปัสสาวะจะทําให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ถ้ามดลูกหดรัดตัวไม่ดี ควรคลึงมดลูกเบา ๆ เพื่อกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้น ซึ่งจะช่วยให้รก
ลอกตัวได้ หรืออาจวางกระเป๋าน้ําแข็งบริเวณท้องน้อย เพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดี ป้องกันการตกเลือดของมารดาหลังคลอด
เมื่อมดลูกหดรัดตัวดี และมีอาการของรกลอกตัวแล้ว ให้ผู้ทําคลอดทําคลอดรกโดยวิธี Modified
Crede' Maneuver
การพยาบาลภาวะตกเลือด
1.นวด คลึงมดลูก (กรณีที่คลอดทางช่องคลอด งดนวดมดลูกกรณีที่ผ่าตัดคลอด)
2 ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกได้แนะนําให้ยา Oxytocin เป็นลําดับแรก และ/หรือmethylergonovine (methergin) ภายหลังได้รับยาควรประเมินการตอบสนองของยาโดยเร็วถ้าไม่ได้ผลพิจารณายากลุ่ม prostaglandin
3 Bimanual compression เป็นการใช้มือกดที่มดลูก ทําโดยกํามือข้างหนึ่งคลึงมดลูกทางหน้าท้องให้มดลูกอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง อาจต้องทําเป็นเวลานานจนกว่ามดลูกจะแข็งตัว