Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การร่วมสมัยและความสัมพันธ์ ด้านศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ - Coggle…
บทที่ 5 การร่วมสมัยและความสัมพันธ์ ด้านศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์
ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์
จิตรกรรม (Painting) ประติมากรรม (Sculpture) สถาปัตยกรรม (Architecture) วรรณกรรม (Literature) ดนตรี (Music)
ทัศนศิลป์กับดนตร
รากฐานความคิดของพุทธิปัญญา รากฐานความคิดของมนุษยนิยม
1.มีเสถียรภาพ 2.การรู้โดยตนเอง และรู้โลกผ่านเหตุผล 3.วิธีการรู้ 4. ความรู้เกิดจากวิทยาศาสตร์คือ "ความจริง" และไม่เป็นที่สิ้นสุด5. ความรู้ ความจริง เกิดโดยวิทยาศาสตร์ 6.เหตุผล
7.ในโลกที่ปกครองด้วยเหตุผล ความจริงจะเป็นเช่นเดียวกับความดีงามและความถูกต้อง 8.วิทยาศาสตร์เช่นนี้ถือเป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) 9.ภาษาหรือวิธีการแสดงออก
นาฏศิลป์ หมายถึง การร้องรำทำเพลงและการให้ความบันเทิง โดยการโน้มน้าวอารมณ์ ความรู้สึก มุ่งเน้นศิลปะแห่งการร่ายรำประกอบดนตรีและการขับร้องเข้าด้วยกัน
ดนตรี-นาฏศิลป์
เป็นผู้ที่มีจิตใจชอบงานทางด้านอย่างลึกซึ้งศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ไม่ว่าจะเป็นผู้สร้างงานหรือผู้ดูผลงาน
ผู้สร้างและผู้ดูควรศึกษาค้นคว้าเรื่องราวของศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ในเรื่องต่างๆ
มีีประสบการณ์ในมุมมองต่างๆได้เป็นอย่างดีควรมีประสบการณ์หลายด้าน
ผู้ดูต้องหมั่นค้นคว้าหาความรู้เสมอ รู้จักถามเมื่อพบเรื่องราว และรูปแบบใหมหากไม่เข้าใจผลงาน
ผู้ดูต้องเป็นผู้รับฟังแนวคิดใหม่ ๆ ของศิลปิน
ผู้ดูต้องรอบรู้ในวิชาต่างๆหลายๆด้าน
มีรสนิยมทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ อย่างแท้จริง
การร่วมสมัยของศิลปะ ดนตรีไทย และนาฏศิลป์
ประยุกต์ศิลป์และวิจิตรศิลป์
งานด้านประยุกต์ศิลป์ เช่น สถาปัตยกรรมมัณฑนศิลป์ เรขศิลป์ แฟชั่น หรืองานศิลปะในสาขาอื่น
จุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นช่วงเวลาที่การล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกในเอเชียอาคเนย์กำลังเฟื่องฟู
ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายเข้ามาถึงระบบการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็นด้านสถาปัตยกรรม มัณฑนศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ภาพยนตร์ นฤมิตรศิลป์ทัศนศิลป์ และนาฏศิลป
ศิลปะร่วมสมัย
การเปลี่ยนแปลงทางศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบภายใต้วิถีเดียวกัน ผู้ที่มีอำนาจมากกว่ามีแนวโน้มที่จะมีอิทธิพลในการครอบครองและครอบงำผู้ที่มีอำนาจน้อยกว่า
แนวคิดดนตรีร่วมสมัย
ดนตรีเป็นศาสตร์แห่งเสียงเป็นสุนทรียศาสตร์แขนงหนึ่งที่อยู่คู่กับมนุษยชาติมาทุกยุคทุกสมัยนับตั้งแต่มนุษย์ได้รู้จักการสื่อสารด้วยวิธีการต่าง ๆดนตรีนับเป็นภาษาสำหรับการสื่อสารในเบื้องต้น
แนวคิดนาฏศิลป์ร่วมสมัย
นาฏศิลป์ร่วมสมัย คือ รูปแบบหนึ่งของการเต้นรำเพื่อให้ผู้เรียนค้นพบการเคลื่อนไหวของตนเองจากการฝึกทักษะจนก่อให้เกิดเป็นการเต้นรำที่เป็นธรรมชาติและผ่อนคลาย