Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้สัปดาห์ที่3 - Coggle Diagram
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้สัปดาห์ที่3
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ประวัติส่วนตัว
เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดนครราชสีมา
เป็นบุตรชายของพันเอก (พิเศษ) ประพัฒน์ จันทร์โอชา และนางเข็มเพชร จันทร์โอชา
สมรสกับ รองศาสตราจารย์นราพร จันทร์โอชา อาจารย์ประจำสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีบุตรสาวฝาแฝด 2 คน คือ น.ส.ธัญญา จันทร์โอชา และ น.ส.นิฏฐา จันทร์โอชา
ประวัติการทำงาน
พ.ศ. 2549 – แม่ทัพภาคที่ 1 (มทภ. 1 )
พ.ศ. 2551 – เสนาธิการทหารบก (เสธ.ทบ.)
15 มกราคม พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน – พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นนายทหารราชองครักษ์พิเศษ
พ.ศ. 2553 – ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.)
พ.ศ. 2557 – หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
แนวทางการทำงาน
ยึดถือ “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง”
สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ส่งเสริมการแก้ปัญหาตามแนวทางสันติวิธี
เสริมสร้างศักยภาพระบบราชการไทย
รักษาความสัมพันธ์อันดีกับ “ทุกกลุ่ม ทุกภูมิภาค”
สร้างประชาธิปไตยที่ถูกต้อง บนพื้นฐานของความพอเพียง
ปฏิรูประบบเศรษฐกิจของประเทศ นำไปสู่ “ไทยแลนด์ 4.0”
สันติ ภิรมย์ภักดี
ประวัติส่วนตัว
เกิดวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2489
สันติ ภิรมย์ภักดี สมรสกับอรุณี
มีบุตรทั้งสิ้น 3 คน ประกอบด้วยสันต์ ภิรมย์ภักดี, ปิติ ภิรมย์ภักดี และบุตรสาวคนเล็ก ปรีดิ์รติ ภิรมย์ภักดี
ทายาทรุ่นที่ 3 ของตระกูลภิรมย์ภักดี
เเนวทางการทำงาน
แพ้แต่ไม่ยอมจำนน “ผมยอมรับว่าแพ้ แต่ผมไม่ยอมแพ้ พวกคุณจะสู้กับผมไหม?”
เติบโตไปด้วยกัน “เราเป็นครอบครัวเดียวกัน”
อย่าติดกับดักความสำเร็จ “ผมให้คุณดีใจได้แค่วันเดียวสำหรับความสำเร็จที่เกิดขึ้น”
ไม่ต้องเอายอดขายมาให้ผม แต่ไปเอารอยยิ้มของคนไทยกลับมา
เลือกคนให้ถูกกับงาน “ผมมีม้าหลายตัว ผมแค่จับเขาไปอยู่ให้ถูกที่ถูกทาง”
การพัฒนาการเป็น
นักบริหารยุคดิจิทัล
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ความหมาย วิธีคิด วิธีปฏิบัติ แนวการด าเนินชีวิต มา
ทบทวนใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับยุค และสถานการณ์ ที่กำลังเกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) คือ การเปลี่ยนแปลงความรู้ วิธีคิดแบบใหม่ที่หักล้างและท้าทายกระบวนทัศน์เก่า จนกระทั่งกระบวนทัศน์เดิมไม่มีพลังในการอธิบายหรือแก้ปัญหาได้
สรุปการเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ด้านการบริหารจัดการ (Management) การสร้างองค์กรในรูปแบบใหม่ที่มุ่งเน้นในเรื่องของการใช้เทคโนโลยี เพื่อการปฏิบัติงานและการให้บริการ เพิ่มมากขึ้น
ด้านการให้บริการประชาชน (Citizen Service) การนำแนวคิดการสวมจิตวิญญาณผู้ประกอบการที่มองภาพลักษณ์ของประชาชนจากผู้รับบริการเป็นผู้ที่องค์กรของรัฐ และนำมาปรับกระบวนทัศน์
ด้านพฤติกรรมการทำงาน (Civil Servants) พฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อกระบวนทัศน์แบบใหม่นั้น สามารถสรุปได้ ดังนี้
ใฝ่รู้ ตื่นตัวในการศึกษาหาความรู้อย่างเสมอ,
สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง และยืนหยัดในความถูกต้อง,คิดใหญ่
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ยอมรับในการเรียนรู้
การพัฒนาวิสัยทัศน์
vision
Image กำหนดภาพนึกคิด ภาพอนาคต
SWOT วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน จุดเด่น จุดด้อย
Valiable วิสัยทัศน์ต้องสามารถเข้าถึงได้ เป็นไปได้
ICT ข้อมูลสารสนเทศข่าวสาร
Opportunity แสวงหาโอกาสสร้างโอกาส
New Paradigm กระบวนทัศน์ใหม่
วิสัยทัศน์หมายถึง เป้าหมายที่มีลักษณะกว้าง ๆ เป็นความต้องการในอนาคต โดยมิได้กำหนดวิธีการไว้เป็นข้อความทั่วไป ซึ่งกำหนดทิศทางของภารกิจ
กระบวนการสร้างวิสัยทัศน์
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการสร้างวิสัยทัศน์
ขั้นนำวิสัยทัศน์ไปปฏิบัติ
ขั้นประเมินวิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์ที่ดีควรมีลักษณะสำญ ดังนี้
มีลักษณะน่าสนใจ ผู้มีส่วนได้เสียและผู้เกี่ยวข้องให้ความสนใจ
วิสัยทัศน์ต้องเขียนให้มีลักษณะความเป็นไปได้ ไม่ไกลเกินฝัน
3.มีความชัดเจน เขียนมีรายละเอียดตามสมควร ชัดเจนมองเห็นภาพในอนาคตได้
ยืดหยุ่นได้ มีความคิดริเริ่ม และสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ามีข้อมูลหรือเหตุผลดี
5.ใช้ภาษาเขียนที่สั้น กะทัดรัด เข้าใจง่าย และสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ชัดเจน