Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่1.ผู้คลอด G4P3-0-0-3 Last 2 ปี GA 41 wks. - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่1.ผู้คลอด G4P3-0-0-3 Last 2 ปี
GA 41 wks.
มารดาเกิดภาวะรกค้าง (retained placenta)
สาเหตุ/ปัจจัย
ได้รับการปรับตามหดรัดตัวของมดลูก
ปรับ syntocinon 40 cc/hr
อาการและอาการแสดง
รกลอกตัวนานมากกว่า 30 นาที
มารดาหลังคลอดมีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมาก
การพยาบาล
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอดโดยตรวจดูอาการแสดง (signs) ของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์ถ้ามี signs แสดงว่ารกลอกตัวแล้วให้ช่วยเหลือการคลอดรกด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอย่างถูกวิธี
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูกเมื่อตรวจแล้วไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวสมบูรณ์
3.1 ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกถ้าไม่มีการหดรัดตัวหรือหดรัดตัวไม่แข็งเต็มที่ควรปฏิบัติดังนี้คือสวนปัสสาวะถ้ามตลูกยังหดรัดตัวไม่ดีควรใช้ฝ่ามือคลึงเบา ๆ ยอดมดลูก แต่ห้ามคลึงด้วยความรุนแรง
3.2 หากปฏิบัติ
3.1 แล้วรกยังไม่คลอดในเวลาอันสมควรอาจเกิดจากรกลอกด้วยแล้วแต่ไม่ผ่านโพรงมดลูกได้และรกลอกตัวเองไม่ได้ตามธรรมชาติ
3.3 ผู้ทำคลอดอาจสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอดเพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูกว่ามีการหดเกร็งของปากมดลูก (cervical cramp) จนบัดขวางการเคลื่อนของรกระมัดระวังการติดเชื้อและการเกิดความเจ็บปวดแก่มารดา
3.4 ทาคสอตรกโดยวิธีดึงสายสะดือ (control cord traction) หากรถยังติดอยู่ห้ามตึงต่อไปเพราะสายสะดืออาจขาดหรือมดลูกปลิ้นหรือมีเศษรักค้างได้
1.ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
4.รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก
ทารกเสี่ยงเกิดภาวะคับขัน(fetal distress)
สาเหตุ/ปัจจัย
-On5% D/NSS/2 1000 cc + syntocinon 10 unit IV drip 3-30drop/ /min ปรับตามหดรัดตัวของมดลูก
ปรับ syntocinon 40 cc/hr
-ผู้คลอดรู้สึกเจ็บครรภ์ถี่ UC D=60” I= 1’ 50” Intensity Strong
อาการและอาการแสดง
ฟังFHS 110 ครั้ง/นาที
พบ AF Amniotic fluid thick meconium
การพยาบาล
ตรวจภายใน เพื่อประเมินภาวะสายสะดือย้อย และประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
วัดความดันโลหิตอย่างเที่ยงตรง แม่นยํา เพื่อค้นหาภาวะความดันโลหิตต่ํา
เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของ อย่างต่อเนื่อง FHR เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของ FHR
รายงานแพทย์เพื่อช่วยเหลือ ในรายที่ปากมดลูกเปิดแล้วอาจต้องเตรียมผู้คลอด
1.จัดให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย เพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงมดลูกได้ดีขึ้น
ให้ oxygen face mask 8 – 10 ลิตร/นาที เพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในกระแสเลือดของผู้คลอด
ให้ oxygen face mask 8 – 10 ลิตร/นาที เพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในกระแสเลือดของผู้คลอด
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
9 รายงานกุมารแพทย์ เพื่อช่วยเหลือทารกแรกเกิดและเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ในการช่วยทารกให้พร้อม
อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบแผนการรักษา และบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ตรงตามเกณฑ์วิชาชีพที่กําหนด