Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด, นางสาวนวลพรรณ จุลรัตน์ เลขที่ 41 …
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด
ความดันโลหิตสูง
การวินิจฉัย
ผู้ป่วยท่ีมีความดันโลหิตสูงกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg ติดต่อกัน 2ครัั้ง ห่างกัน 1เดือน
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความดันโลหิต
ปริมาณเลือดท่ี่ออกจากหัวใจ (Cardiac output)
2.ปริมานเลือดในร่างกาย (Blood volume)
Resistance
ระดับขั้นของความดันโลหิตสูง
Stage 2 ระดับความดันโลหิตตั้งแต่ 160/100 mmHg เป็นต้นไป
Stage 1 ระดับความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140/90-159/99 mmHg
Prehypertension ระดับความดันโลหิตอยู่ในช่วง 120/80-139/89 mmHg
สาเหตุของความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ
โรคไต
โรคของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติทางระบบประสาท
ได้รับยาบางชนิด เช่นยาคุมกำเนิด โคเคน แอมเฟตามีนเป็นต้น
อาหารท่ีมีสารธัยรามีน เช่น เนยเก่า ตับไก่ เบียร์ ไวน์
ภาวะเครียดเฉียบพลัน
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
Renovascular disease
Pheochromocytoma
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สาเหตุที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
พันธุกรรม
อายุ
เพศ
เชื้อชาติ
สาเหตุที่เปลี่ยนแปลงได้
อ้วนมาก
สารเสพติด
ออกกำลังกาย
ภาวะ(Stress)
พยาธิสภาพ
(Arterial baroreceptor and chemoreceptor)
การควบคุมปริมาตรน้ำ ในร่างกาย
ระบบเรนนินแอนจิโอเทนซิน
การควบคมุตวัเองของหลอดเลือด
อาการ
ผู้ป่วยความดันสูงเล็กน้อยหรือปานกลางมักไม่ม่ีอาการแสดง
ปวดศีรษะมักปวดที่ท้ายทอย โดยเฉพาะช่วงเช้าหลังต่ื่นนอน เวียนศีรษะ มึนงงเกิดจากสมองขาดเลือด เลือดกำเดาไหลแต่พบไม่บ่อย
หายใจลำบากขณะนอนราบ
ผลกระทบของการที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานมีการทำลายของอวัยวะสำคัญได้แก่ สมอง ตา ไต หัวใจ เช่น Stroke, ACS, CKD
การประเมินผู้ป่วย
การซักประวัติเจ็บป่วย ประวัติครอบครัวการวัด Blood pressure ที่ถูกต้อง
แบบแผนการดำเนินชีวิต อาชีพ การรับประทานอาหาร ออกกำลังกาย
ความเครียดและความวิตกกังวล
การตรวจพิเศษ EKG, Film chest
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ BUN, Cr, urine albumin, lipid profile, electrolyte, serum for potassium and calcium
การรักษาความดันโลหิตสูง การรักษาความดันโลหิตสูง
ใช้ยา
beta blocker
Calcium channel blocker
ยากลุ่ม ACEI
ยาขับปัสสาวะ (diuratic)
ไธอะไซด ์(Thiazide)
ไม่ใช้ยา
ลดเกลือ
ลดน้ำหนัก
ออกกำลังกาย
งดบุหรี่ แอลกอฮอล์
โรคหลอดเลือดสมอง Stroke
ประเภทของ Stroke
Ischemia stroke
Hemorrhagic stroke
ปัจจัยเสี่ยง
เปลี่ยนแปลงได้
เป็น HT, DM, สบูบหุร่ี่, สรุาหรือยาเสพติด
โรคของ carotid artery disease และperipheral
โรคของหัวใจและระบบไหลเวียน cardiovascular disease (HF, congenital heart defects, CHD, cardiomegaly, cardiomyopathy)
Transient ischemic attack (TIA)
ไขมันในเลือดสูง
ไม่ออกกำลังกาย
เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศชาย>เพศหญิง
ประวัติครอบครัวหรือเคยมีประวิติโรคหลอดเลือดสมอง หรือStrokeมาก่อน
อาการ
ระยะหลังเฉียบพลัน(Post acute stage) เป็นระยะท่ี่ผู้ป่วยมีอาการ คงท่ี่ 1-14 วัน
ระยะฟื้นฟสูภาพ (Recovery stage)3 เดือนแรก
ระยะเฉียบพลัน (Acute stage) เป็นระยะ 24 -48 ชั่วโมง ผู้ป่วยมีอาการ หมดสติ มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ระบบการหายใจและการทำงานของหัวใจผิดปกติ
การรักษา
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
ถ้าหลอดเลือดแตกมีเลือดออกในสมองต้องผ่าตัด
การพยาบาล
ควบคุมให้ได้รับโซเดียมในอาหารไม่เกิน 100 mmol/day
จำกัดการดื่มสุรา
งดสูบบุหรี่
กินอาหารไขมันต่ำ
ลดน้ำหนัก
ออกกำลังกาย
ไม่เครียด
Thrombopheblitis
สาเหตุ
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตัน
อาการ
ปวดบริเวณที่เกิดหลอดเลือดอักเสบ บวม แดง มีการขาดเลือดของอวัยวะ ที่มีการอุดตัน
คลำชีพจรปลายเท้าได้เบา
อวัยวะส่วนปลาย บวม ซีด
การรักษา
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
ผ่าตัด
การพยาบาล
ห้ามวิ่ง/ เดินนาน
ใส่ถุงน่องรัดขาเพื่อดูอาการหลังได้รับยาละลายลิ่มเลือด
ลดน้ำหนัก
ห้ามใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมน
หลอดเลือดแดงอักเสบเฉียบพลัน(TAO)
อาการ
ในระยะแรก มีอาการปวดบริเวณขา และหลังเท้ารุนแรง อาจมีอาการปวด น่องร่วมด้วยเวลาเดิน เดินไม่ได้ไกล เป็นตะคริวบ่อยที่เท้าและน่อง หลังเดินหรือ ออกกำลังกาย อาการหายไปเมื่อพัก อาการเหล่านี้เรียกว่า Intermittent Claudication
การรักษา
งดสูบบุหรี่
รักษาแผลเรื้อรังที่เท้า
ให้ยาขยายหลอดเลือด/แก้ปวดตามอาการ
ให้ยา NSIAD เม่ื้อมีอาการหลอดเลือดดำอักเสบ
ผ่าตัด
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
งดสูบบุหรี่
กระตุ้นออกกำลังกาย
ทำความสะอาดแผลระวังติดเชื้อ
เพิ่มการไหลเวียนไปในส่วนที่อักเสบ
หลังผ่าตัด
จัดการปัจจัยเสี่ยง
เฝ้าระวังกลับเป็นซ้ำ
หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ(PAD/Arterial occlusion
สาเหตุ คือผนังหลอดเลือดแดง (intima)ได้รับอันตราย
แรงดันของความดันโลหิต
การติดเชื้อจากภูมิคุ้มกัน
สารเคมีในร่างกายเช่น ไขมัน น้ำตาล เป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง
ไขมันในเลือดสูง
โรคเบาหวาน
อ้วนลงพุง
ไม่ออกกำลังกาย
รับประทานอาหารไม่ถูกต้อง
ครอบครัวมีประวัติหลอดเลือดตีบ
อาการคล้ายหลอดเลือดแดงอักเสบเฉียบพลัน
ถ้าหลอดเลือดตีบไม่รุนแรงจะไม่ปวด
คลำชีพจรปลายมือปลายเท้าเบาลง
ถ้ามีการอุดตันมากจะปวดมากแม้ในขณะพัก คลำชีพจรปลายเท้าไม่ได้ ปลายมือปลายเท้าเย็น ซีด
การพยาบาล
กระตุ้นเดิน
ใส่รองเท้าที่พอดี
ทานวิตตามินบี
หลีกเลี่ยงการประคบน้ำร้อน/น้ำเย็น
บริหารปลายเท้า
ไม่รับประทานอาหารที่ให้พลังงานมาก
ออกกำลังกาย
หลังผ่าตัดจัดท่านอนราบ ขาตรงห้ามงอใช้หมอนหนุนใต้ขา
สังเกตออาการ Bleeding, pain, infection, ขาดเลือด, หายใจและวิตกกังวล
สังเกตอาการผิดปกติ 6 P ได้แก่ ปวดขามาก มีไข้แขนขาอ่อนแรง เย็น คลำชีพจรไม่ได ้แผลติดเชื้อให้มาพบแพทย์
การรักษา
ให้ยาต้านเกล็ดเลือด
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
ให้ยาขยายหลอดเลือด
ผ่าตัด
หลอดเลือดดำตีบDeep Venous Thrombosis (DVT)
สาเหตุ
หลอดเลือดดำได้รับอันตราย เช่นอุบัติเหตุกระดูกหัก กล้ามเนื้อถูกกระแทก หรือ ผ่าตัด
เลือดในหลอดเลือดมีการไหลเวียนช้าลงเช่นการนั่งหรือนอนนาน หลังผ่าตัด อัมพาต การเข้าเฝือก
การที่เลือดแข็งตัวง่าย
ปัจจัยเสี่ยง
คนแก่/อัมพาตนอนไม่เคลื่อนไหวมา3วัน
เข้าเฝือก
ผ่าตัดทำให้นอนนาน
การอยู่ในอริยบทเดิมเป็นเวลานาน เช่น นั่งรถ นั่งเครื่องบิน
สูบบุหรี่
ใช้ยาคุมกำเนิด
ตั้งครรภ์
อาการ
เท้าบวมเน่ื่องจากการไหลกลับของเลือดไม่ดี มักจะบวมข้างเดียว บางรายอาจจะเห็นเส้นเลือดโป่งพอง อาจจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวพบได้ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย โดยเฉพาะเวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น
เหน่ื่อยหอบเน่ื่องจากลิ่มเลือดไปอุดในปอด (PE)
การรักษา
การรกัษาทางกายภาพ
ใช้ถุงน่องผ้ายืด
ใช้เครืี่องบีบไล่เป็นจังหวะ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกจากเตียง
ออกกำลังกายข้อเท้า
ใช้ยา Anticoagulant
Low molecular weight heparin (LMWH) ทุก 12 hr.
Wafarin ใช้ร่วมกับ LMWH ตั้งแต่วันแรก
การพยาบาล
แนะนำการออกกำลังกาย/การรับประทานอาหารวิตามินซีสูง
งดบุหรี่
Early ambulation
วัดรอบน่อง
ดูแลให้ยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษา
หลอดเลือดดำขอด(Varicose vein)
สาเหตุ
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดหลอดเลือดขอดคือ การยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ความร้อน การถูกผูกรัด เช่นการใส่ถุงน่องท่ี่คับเกินไป
อาการ
ปวดตื้อบริเวณขา
กล้ามเนื้อเป็นตระคริว
เมื่อยล้าที่ขามากผิดปกติ
บวม ปวดรุนแรงในรายที่เกิดการอุดตันรุนแรง
เกิดแผลที่เท้าเนื่องจากขาดเลือด
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บและติดเชื้อได้ง่าย
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
ฉีดยาให้หลอดเลือดดำแข็งตัว
หลังฉีดยา 30 นาที ใหส้วม Elastic stocking
ประมาณ72 ช่วัโมง สามารถเดินได้
หลังฉีดยา 24 ชั่วโมงสามารถถอด Elastic stocking เพ่ื่อไปอาบน้ำได้แต่ต้องสวมทันทีเมื่อาบน้ำเสร็จ
ผ่าตัดเอาหลอดเลือดที่มีปัญหาออก
สอนผู้ป่วยภายหลังการทำ Sclerosing therapy เพืื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
แนะนำเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ห้ามนั่งไขว่ห้าง
ออกกำลังกายประจำ/ยกขาสูง
ลำน้ำหนัก
หลีกเลี่ยงการยืนนานๆ
ห้ามสวมเสื้อผ้ารัดขา ขาหนีบ ช่วงเอว
สวม Elastic stocking
รับประทานอาหารที่มีกากใย
เคลื่อนไหวทุก45นาทีเมื่อนั่งเครื่องบิน
นางสาวนวลพรรณ จุลรัตน์ เลขที่ 41
รหัสนักศึกษา 62121301041