Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้คลอด G4P3-0-0-3 Last 2 ปี GA 41 week - Coggle Diagram
ผู้คลอด G4P3-0-0-3 Last 2 ปี GA 41 week
ผู้คลอดรายนี้มีโอกาสเกิดภาวะรกค้างและรกติด (Retained and Adherent Placenta)
รกค้าง (retained placenta) หมายถึง ภาวะที่รกไม่ลอกหรือคลอดออกมาใน 30 นาทีหลังทารก
คลอด อาจไม่ลอกทั้งรก หรือลอกเพียงบางส่วน
ซึ่งกรณีศึกษา หลังคลอด ต้องรอรกลอกตัวนานมากกว่า 30 นาที
มีผลต่อมารดาเมื่อเกิดภาวะรกค้าง
การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage: PPH)
เนื่องจากการณีศึกษา มารดาหลังคลอดมีเลือดออกทางช่องคลอดจํานวนมาก
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ ทารกในครรภ์ภาวะคับขัน (Fetal Distress)
UC D=60” I= 1’ 50” Intensity Strong
FHS 110 ครั้ง/นาที
พบ AF Amniotic fluid
thick meconium
ขณะเฝ้าคลอดผู้คลอดรู้สึกเจ็บครรภ์ถี่
สาเหตุ
1.ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปที่รกไม่ดีหรือไม่เพียงพอ ทำให้รกได้รับออกวิเจนได้น้อยลง
2.การได้รับยากระตุ้นการหดตัวของมดลูกเกินขนาด หรือมดลูกหดรักตัวมากหรือนานเกินไป
3.รกเสื่อม เนื่องจาก หญิงคลอดตั้งครรภ์ G4P3-0-0-3
การพยาบาลที่สําคัญที่จะป้องกันหรือแก้ไขอันตรายต่อผู้คลอดและทารกในครรภ์
ภาวะรกค้างเเละรกติด
หลีกเลี่ยงการขูดมดลูก โดยเฉพาะการขูด
เอาชั้น Basilar endometrium ซึ่งจะทําให้เป็นเหตุส่งเสริมของการเกิดรกติดแน่น หรือเกาะแน่นของเนื้อรก
ในกรณีที่ไม่มีอาการของรกลอกตัวภายใน 30 นาที
1.สวนปัสสาวะในกรณีที่มีกระเพาะปัสสาวะเต็ม
ถ้ามดลูกหดรัดตัวไม่ดี ควรคลึงมดลูกเบา ๆ
เมื่อมดลูกหดรัดตัวดี และมีอาการของรกลอกตัวแล้ว ให้ผู้ทําคลอดทําคลอดรกโดยวิธี Modified
Crede' Maneuver
ถ้ารกฝังตัวแน่น ไม่สามารถคลอดออกมาได้รีบรายงานแพทย์
เตรียมอุปกรณ์ในการล้วงรกไว้ และเปิดเส้นเลือดด้วยเข็มขนาดใหญ่ ให้สารน้ําเข้าหลอดเลือดดํา
โดยเร็ว ถ้าเลือดออกมากควรเตรียมเจาะฮีมาโตคริต ตรวจหาหมู่เลือด และจัดเตรียมเลือดไว้
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที
รายงานวิสัญญีแพทย์ หรือพยาบาลวิสัญญีเพื่อเตรียมยาสลบ
ช่วยเหลือแพทย์ในการล้วงรก
จัดท่าผู้คลอดขึ้นขาหยั่ง (Lithotomy)
ทําความสะอาดบริเวณฝีเย็บ และหน้าขาอีกครั้งหนึ่ง รวมทั้งสายสะดือที่โผล่ออกมา
ปูผ้าปราศจากเชื้อใหม่
ให้ยาสลบหรือยาระงับความรู้สึกตามการรักษาของแพทย์
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงขณะแพทย์ทําการล้วงรก พร้อมทั้งจดบันทึกอาการสัญญาณชีพ และ
จํานวนเลือดที่ออกมาไว้อย่างละเอียด
การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage: PPH)
ประเมินอาการและอาการแสดงของการสูญเสียเลือด/ภาวะช็อก เช่น ใจสั่น ระดับความรู้สึก เปลี่ยนแปลง หน้ามืด เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเบาเร็ว
ประเมิน Vital signs หลังรกคลอดทันที
ค่าปกติ ทุก 15 นาที 4 ครั้ง และ 30 นาที 2 ครั้ง
ทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่ และ ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลการขับถ่ายปัสสาวะให้กระเพาะปัสสาวะให้
ว่างอยู่เสมอ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ให้เป็นก้อนกลมแข็งอยู่เสมอและสอนวิธีการคลึง มดลูกให้แก่ผู้คลอด
ประเมิน Blood loss และตรวจดู Lochia
ประเมินลักษณะของแผลฝีเย็บ โดยใช้หลัก REEDA
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยาตามแผนการรักษาของแพทย์ syntocinon,
methergin, prostaglandin
ภาวะคับขัน (Fetal Distress)
1.จัดให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย
2.ให้ oxygen face mask 8 – 10 ลิตร/นาที
กรณีที่ผู้คลอดได้รับ oxytocin ควรหยุดให้ทันที
4.ดูแลผู้คลอดให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
ตรวจภายใน เพื่อประเมินภาวะสายสะดือย้อย และประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
7.วัดความดันโลหิตอย่างเที่ยงตรง แม่นยํา เพื่อค้นหาภาวะความดันโลหิตต่ํา
5 เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของ อย่างต่อเนื่อง FHR
8.รายงานแพทย์เพื่อช่วยเหลือรายงานกุมารแพทย์ เพื่อช่วยเหลือทารกแรกเกิดและเตรียมเครื่องมือ
9.อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบแผนการรักษา
นางสาวสุพัตรา ติยานุพันธุ์ เลขที่ 67 ห้อง 1 รหัส 61125301132