Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลอดเลือดโป่งพอง Aneurysm - Coggle Diagram
หลอดเลือดโป่งพอง Aneurysm
ปัจจัยเสี่ยง/สาเหตุที่ก่อให้เกิดโรค
ปัจจัยเสี่ยงผู้สูงอายุ ,Marfansyndrome, สูบบุหรี่, HTและโรคปอดเรื้อรัง
ภาวะหลอดเลือดแข็ง การบาดเจ็บของผนังหลอดเลือด
กรรมพันธุ์ การติดเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา เยื่อหุ้มหลอดเลือดชั้นนอกอักเสบ (Periarteritis) การได้รับบาดเจ็บจากของมีคม (Blunt or sharp trauma) ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดหัวใจ
อาการและอาการแสดง
Aneurysm of The Thoracic Aorta
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการแสดง แตถ้ามีอาการแสดง ส่วนใหญ่จะมีอาการในขณะนอนหงายราบ อาจมีอาการเหนื่อยซึ่ง เป็นผลมาจาก Aneurysm ไปกด Trachea Main Bronchus หรือปอด อาจจะมีอาการไอ เสียงแหบหรืออาจไม่มีเสียงเนื่องจากมีการกดทับเส้นประสาท Recurrent Laryngeal อาจมีอาการรกลืนลําบํากเนื่องจากมีการกระทบกระเทือนหลอดอาหาร
Abdominal Aorta Aneurysm (AAA)
ผู้ป่วยบางคนบ่นว่ารู้สึกเหมือนมีเสียงหัวใจเต้นท่ีท้องเมื่อนอนราบ ส่วนใหญ่จะมีอาการปวดท้องที่อาจเป็นอย่างถาวรหรือชั่วคราวบ่อยครั้งจะเป็นท่ี Middle or Lower abdomen to The Left of the midline มีอาการปวดหลัง เนื่องจากมีการกดเส้นประสาทที่หลัง อาการท่ีรุนแรงคือ Aneurysm จะมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือได้รับการกระทบกระเทือนจนแตก มีเพียง ส่วนน้อยท่ีจะรู้สึก มีเสียงต๊บุ ๆ ในท้อง ผู้ป่วยมากกว่าครึ่ง มีอาการของความดันโลหิตสูง ถ้าแตกจะมีอาการปวดหลังมาก
การรักษา
ให้ยาควบคุมความดันเพื่อไม่ให้อันใหญ่ขึ้น ติดตามอาการปีละ2ครั้ง โดยการทําอัลตร้าซาวด์และ CT scan
การผ่าตัดเพื่อเอา aneurysm ออก จะผ่าตัดเมื่อมีขนาดเส้น ผ่านศูนยกลางมากกว่า 5 cms
การวินิจฉัยโรค
ซักประวัติ
ซักประวัติ ปวดศีรษะอย่างรุนแรงหมดสติ ผู้ป่วยอาจฟื้นสติขึ้นมาหรือยังหมดสติอยู่ ตรวจร่างกายพบคอแข็ง
การตรวจร่างกาย
อาจพบว่าท้องโตขึ้น คลำได้ก้อน เป็นลักษณะ เต้นตามชีพจร pulsatile mass ฟังเสียงหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ท้องอาจมีเสียง bruit หรือตรวจพบว่ามีเสียงลิ้นหัวใจ aortic รั่ว
การตรวจพิเศษ
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง
การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าร่วมกับการฉีดสารทึบแสง (magnetic resonanceangiogram:MRA)
เจาะหลัง เพื่อพิสูจน์ภาวะเลือดออกในช่องใต้เยื่ออแรชนอยด์
การพยาบาลที่สำคัญ
1.ไม่กระทบกระแทกบริเวณAneurysmเพราะอาจทําให้Aneurysmแตกได้
Absolute bed rest ไมออกแรงเบ่งอุจจาระ ปัสสาวะ ยกของหนัก เพราะทำให้เพิ่มแรงดันใน
ช่องท้อง ทําให้ Aneurysm แตกได้
ให้ได้รับยาแก้ปวดทางหลอดเลือดดํา เนื่องจากผู้ป่วยจะมีอาการปวดจากการท่ี Aneurysm กด
เนื้อเยื่อใกล้เคียง
ควบคมุ Systolic blood pressure ให้อยู่ระหว่าง 100-120 mmHg, MAP อยู่ระหว่าง 60-75
โดยวัด BPทุก 2-4ชั่วโมงท่ีแขนทั้งสองข้าง ถ้า BPแตกต่างกัน 10mmHgให้รายงานแพทย์ทันที
ประเมินภาวะหลอดเลือดแดงแตก เช่น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตลดลง เจ็บอกหรือใต้กระดูกสะบัก ปวดท้อง ผิวหนังเย็น ความรู้สึกตัวลดลง
6.สอนผู้ป่วยเก่ียวกับการควบคมุความดันโลหิตสูงและงดสูบบุหรี่
พยาธิสภาพ
ภาวะท่ีผนังหลอดเลือดแดงหรือดําอ่อนแอหรือการสะสมของ ไขมันทําให้ผนังหลอดเลือดบริเวณนั้นโป่งตึงรูปร่างคล้ายถุง (sacform)อาจพบใน สมอง ช่องท้อง ช่องอก ท่ีพบบ่อยคือ AAA ซึ่งอาจแตกได้ในกรณีท่ีมีความดันโลหิต สูง ทําให้ผู้ป่วยมีภาวะช็อคจากการเสียเลือดและมีโอกาสเสียชีวิต50-90%