Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม,…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
1.ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis)
พบในการตั้งครรภ์ไตรมาสที่สอง และมีความเสี่ยง
สูงมากในไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ โดยอัตราสตรีตั้งครรภ์ได้รับอันตรายจากการผ่าตัด
สาเหตุและพยาธิสภาพ
การตั้งครรภ์เมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สองมดลูกที่โตขึ้น จะทำให้การคลำหาตำแหน่งที่อักเสบได้ยากขึ้นเนื่องจากมดลูกที่โตขึ้นจะดันเบียดลำไส้เล็กส่วนซีคัม (cecum) ให้เลื่อนสูงขึ้นไปทางด้านหลัง
ด้านขวา จึงทำให้การวินิจฉัยที่แน่นอนทำได้ยาก
นอกจากนี้ระดับเม็ดเลือดขาวที่สูงขึ้นอาจไม่สามารถระบุได้แน่ชัดว่ามีการอักเสบติดเชื้อขึ้นในร่างกายเนื่องการการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาขณะตั้งครรภ์โดยปกติก็มีระดับเม็ดเลือดขาวที่สูงขึ้นมากกว่าปกติอยู่แล้ว
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียนท้องแข็ง (guarding) มีไข้ อาจสูงถึง 38.3 oC
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าการตรวจ CT scan เป็นต้น
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด laparotomy
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ appendectomy
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug)
2.ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ทำให้เกิดแรงดันและกดเบียดทำให้การไหลเวียน
และระบายของถุงน้ำดีไม่ทำให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ำดีลดลงมีผลต่อภาวะhypercholesterolemiaมักเกิดจ ากการอุดกั้นของ
ถุงน้ำดี การเกิดนิ่วในถุงน้ำดี และอาจเกิดภาวะ pancreatitis
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา (colicky pain) คลื่นไส้อาเจียนที่มีไขมัน มีไข้ และตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายพบ colicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
การตรวทางห้องปฏิบัติการ
2.1 ตรวจความเข้มข้นของเลือด CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
2.2 ตรวจ U/A อาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น Radiographic diagnostic การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงอาจพบมีการขยายของท่อน้ำดีมีการอุดกั้น หรือพบนิ่วในถุงน้ำดี
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การทำ Laparoscopic for cholecystectomy/ cholecystectomy
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
ให้ ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum
ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (antispasmodics)
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก tocolytic therapy
3 ภาวะลำไส้อุดกั้น (Bowel obstruction)
พยาธิสภาพ
การผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้องหรือมีประวัติการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานโดยภาวะลำไส้อุดกั้นจะเริ่มขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 20-25 สัปดาห์
และมักแสดงอาการเมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สามเนื่องจากการขยายของมดลูกจะมีผลต่อลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่โดยตรงการอุดกั้นจะมีผลต่อการทำงานและการดูดซึมสารอาหารของลำไส้ที่ลดลง การไหลเวียนเลือดในร่างกายจะเพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก (constipation) ถ่ายยาก ถ่ายลำบาก ถ่ายไม่ออก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีอาการปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
การซักประวัติ เกี่ยวกับอาการและอาการแสดง เช่น อาการปวดบิดท้องเป็นพัก ๆ
ประวัติท้องผูก คลื่นไส้และอาเจียน เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น WBC, electrolyte, X-Ray, MRI เป็นต้น
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อ มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์ ปัญหาเกี่ยวกับไต ภาวะปริมาตรเลือดต่ำจากการเสียเลือด ช็อก และเสียชีวิต
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด คลอดน้ำหนักตัวน้อย ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขันทารกเสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
พิจารณาการผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศ
ดูแลภาวะท้องผูก (constipation) ภายหลังการผ่าตัด
(recurrent obstruction ในไตรมาสที่สาม
(bowel necrosis) ภายหลังการผ่าตัด
4.ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian tumor)
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
ภาวะของ ovariancyst /tumor ที่โตขึ้นมักพบว่ามี
ขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น มีภาวะท้องมานน้ำ และในระยะคลอดพบว่ามีการคลอดยาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง โดยเฉพาะประวัติโรคทางนรีเวช
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจ MRI เป็นต้น
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด และคลอดยาก (dystocia)
การรักษา
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic)
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
หากวินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มาก
หากผลการชันสูตรพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่ และมารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด ให้งด breast feeding
5 เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Uteri tumor)
เนื้องอกที่กล้ามเนื้อมดลูก มี 2 ลักษณะ
Myoma Uteri
ในช่วงตั้งครรภ์ การดำเนินของโรคจะเป็นได้ 3 รูปแบบ 1)ขนาดเท่าเดิม 2)โตขึ้น 1 ใน 3 และ 3) เล็กลง 1 ใน 3 ทั้งนี้จะมีผลกระทบหรือไม่ขึ้นอยู่กับขนาดและตำแหน่งของ Myoma
Adenomyosis
ภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก แทรกอยู่ตามกล้ามเนื้อ ทำให้หนาแต่ไม่ได้เป็นก้อนชัดเจน อาจเกิดการฝ่อของเนื้องอกขณะตั้งครรภ์ได้
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ ปวดท้องโดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น อาจพบภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์ได้ ตรวจครรภ์พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์ คลำท่าทารกได้ยาก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
การซักประวัติ โดยเฉพาะประวัติทางนรีเวช มีเลือดออกทางช่องคลอด
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจ MRI เป็นต้น
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด และอาการปวดท้องรุนแรงมากขึ้นนขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
คลอดยาก และมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี ตกเลือดหลังคลอด และอาจได้รับการตัดมดลูกได้
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic myomectomy)
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจพยาธิวิทยาเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
หากก้อนยังใหญ่ไม่มาก ไม่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
6 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด พยาบาลผดุงครรภ์ควรทำการประเมินทางการพยาบาล และให้การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาลทั้งก่อนการผ่าตัด ระหว่างการผ่าตัด และหลังการผ่าตัด รวมถึงการดูแลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
การประเมินทางการพยาบาล
การซำประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ การฟังเสียง FHR การบันทึกการดิ้นของทารก การตรวจ NST
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อการตั้งครรภ์และสุขภาพของทารกในครรภ์ พยาบาลผดุงครรภ์ควรให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการผ่าตัด เพื่อลดความกลัวเกี่ยวกับการสูญเสียบุตร
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM (electro fetal monitor)
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลขณะผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัด หากเป็นไปได้ควรจัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อย กึ่งตะแคงซ้าย โดยระมัดระวังไม่ให้กดทับเส้นเลือด vena cava
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
การดูแลหลังการผ่าตัด
ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM อย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ์
รับประทานอาหารและการเผาผลาญที่อาจได้รับผลกระทบจากการผ่าตัด
ประเมินภาวะไข้ และการติดเชื้อ อาการและอาการแสดงถึงภาวะแทรกซ้อนของแผลผ่าตัดติดเชื้อ, thrombophlebitis, pneumonia
หากการตั้งครรภ์ยังสามารถดำเนินต่อไปได้ ควรให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การนับลูกดิ้น อาการและอาการแสดงของการคลอดก่อนกำหนด
7 การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์ (Trauma during pregnancy)
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มักเป็นการบาดเจ็บที่ได้รับผลกระทบจากยานพาหนะ เช่นมอเตอร์ไซด์ล้ม รถชน อุบัติเหตุจากการทำงาน
อุบัติการณ์
ไตรมาสที่สามพบการเกิดการบาดเจ็บมากกว่าไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ โดยร้อยละ 10 พบว่าเป็นการบาดเจ็บในไตรมาสแรกและร้อยละ 40 พบในไตรมาสที่สอง และร้อยละ 50 พบใน ไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์
ชนิดของการบาดเจ็บที่พบระหว่างการตั้งครรภ์
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้นของสตรีตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่ ได้รับบาดเจ็บทางร่างกายและทางเพศขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์เช่น การเกิดรถชน มอเตอร์ไซด์ล้ม ตก การหกล้มและกระแทก
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ความเสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ ทารกตายในครรภ์ ทารกตายคลอด
พยาธิวิทยา
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา (head injury) จะทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ (retroperitoneal hemorrhage) จากการกระทบกระเทือนของช่องท้องส่วนล่างและระบบอวัยวะสืบพันธุ์
2.1 Abruptio placenta ภายในเวลา 48 ชม. หลังการบาดเจ็บ มักพบการลอกตัวของรก
2.2 Pelvic fracture อาจพบภาวะของ bladder trauma, retroperitoneal bleeding
2.3 Uterine rupture เกิดการฉีกขาด หรือแตก ขณะได้รับบาดเจ็บ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
Immediate care
1.1 การพยาบาลควรคำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
1.2 การช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
1.3 ทีมให้การพยาบาลต้องทำการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์
Minor trauma
2.1 Bleeding/vg., uterine irritability
2.2 Abdominal tenderness, abdominal pain or cramps
2.3 Hypovolemia
1.4 FHR เปลี่ยนแปลง
1.5 Fetal activity หายหรือลดลง
1.6 Leakage of amnioticfluid
1.7 พบ fetal cell ใน maternalcirculation
Major trauma
3.1 ในการช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs ควรประเมินแบบ systematic evaluation
3.2 ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพสำเร็จ ควรมีการประเมินสภาพร่างกายทั่วไปตามระบบต่างๆ
3.2.1 ทีมสูติกรรม (Obstetrics)
3.2.2 ทีมวิสัญญี (Anesthesia)
3.2.3 ทีมดูแลทารกในครรภ์ (Neonatology)
3.3 กรณีที่สตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ พยาบาลผดุงครรภ์และพยาบาลเด็กควรประสานงานและทำงานแบบสหวิชาชีพ ร่วมกับแพทย์หลายสาขา
3.4 ให้การดูแลตามกระบวนการ (Grief and loss support)
3.5 การจำหน่ายสตรีตั้งครรภ์เพื่อกลับบ้าน
3.5 การจำหน่ายสตรีตั้งครรภ์เพื่อกลับบ้าน
3.5.1 การสังเกตอาการเลือดออกหรือมีสารคัดหลั่งออกจากแผล
3.5.2 การดิ้นของทารกในครรภ์
3.5.3 Signs and symptom of preterm labor
3.5.4 Signs and symptom PROM
3.5.5 Signs and symptom placenta abrubtion
3.5.6 หากการบาดเจ็บเกิดจากอุบัติเหตุ ควรแนะนำการคาดเข็มขัดนิรภัยที่ถูกต้อง
3.5.7 หากเกิดจากการถูกกระทำความรุนแรงควรแนะนำเกี่ยวกับวงจรการเกิดความรุนแรง แนะนำแหล่งช่วยเหลือเมื่อฉุกเฉิน
8 การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
1 แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
3 จัดท่านอน supine
4 เริ่มทำการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
2.1 การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา (maternal interventions)
2.1.1 ดูแลและช่วยเหลือในการช็อคไฟฟ้า (defibrillation) ทันที
2.1.2 ดูแลให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาให้ถูกต้อง
2.1.3 ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
2.1.4 ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
2.1.5 ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR มีคุณภาพ
2.1.6 ให้ IV fluid เหนือ diaphargm
2.1.7 ประเมินภาวะ Hypovolemia
2.1.8 ดูแลและจัดการให้ท่อทางเดินหายใจโล่ง
2.1.9 กรณีที่สตรีตั้งครรภ์ได้รับ MgSo4 ทางหลอดเลือดดำ ให้ทำการหยุดทันที และให้ Calcium chloride 10 ml ใน 10% solution, หรือให้ calcium gluconate 30 ml. ใน 10% solution
2.1.10 ระหว่างและหลังการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง
2.2 การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์ (Obstetric interventions)
2.2.1 นวดหัวใจด้วยมือ โดยจัดให้มดลูกเลื่อนขึ้นไปด้านบนซ้ายของลำตัว (left uterine displacement (LUD) เพื่อลดการกดทับหลอดเลือด aortocaval
2.2.2 ถอด internal และ external fetal monitors ออกก่อน (หากมี)
2.3 การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
2.3.1 ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพไปแล้วเป็นเวลา 4 นาที
2.3.2 ตั้งเป้าหมายให้คลอดภายใน 5 นาที นับจากเวลาที่เริ่มช่วยฟื้นคืนชีพ
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (BEAU-CHOPS)
1.1 Bleeding/DIC/accident
1.2 Embolism: coronary/pulmonary/amniotic fluid embolism
1.3 Anesthetic complications
1.4 Uterine atony
1.5 Cardiac disease (MI/ischemia/aortic dissection/cardiomyopathy)
1.6 Hypertension/preeclampsia/eclampsia
1.7 Other: differential diagnosis of standard guidelines, accident, abuse
1.8 Placenta abruptio/previa
1.9 Sepsis