Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนรีเวชกรรมและศัลยกรรม …
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนรีเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่ง (appendicitis)
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก หรือท้องเสีย ปวดเป็นพักๆ ท้องแข็ง มีไข้ 38.3 องศา หากไม่ได้รับการรักษา ไส้ติ่งอาจแตกทะลุทำให้เกิดภาวะเยื่อบุท้องอักเสบ (peritonitis)
มักพบในการตั้งครรภ์ ไตรมาสที่สองและเสี่ยงสูงในไตรมาสที่สามวินิจฉัยยากหาตำแหน่งอักเสบยาก ล่าช้าทำให้เสี่ยงไส้ติ่งแตก
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดกั้นของรูไส้ติ่ง อาจเกิดเองไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่อาจเกิดจากเศษอุจจาระแข็งๆ เรีกยว่า นิ่วอุจจาระ fecalith จนเกิดการอักเสบตามมา ปล่อยไว้จะเกิดการเน่าตายและแตกทะลุได้
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจพิเศษ เช่น คลื่นเสียงความถี่สูง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า CT scan
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย เช่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อาการปวด
แนวทางการรักษา
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ appendectomy สำหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
หากไม่รุนแรงพิจารณาให้ผ่าตัด laparotomy เพื่อทำ laparoscopic
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก tocolytic drug เพื่อป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
แยกโรคไส้ติ่งอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากโรคอื่น
ถุงน้ำรังไข่ (ovarian cyst)
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติอาการ ประวัติทางนรีเวช
2.การตรวจพิเศษ คลื่นความถี่สูง MRI
ผลต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด และคลอดยาก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปากมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น มีภาวะท้องมานน้ำ และคลอดยาก
การรักษา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง
4.ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกับการนำก้อนเนื้อออก
2.ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิสภาพ
5.หากพบว่าเป็นเร็งรังไข่มารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด ให้งด breast feeding
1.การผ่าตัดโดยกล้องจุลทรรศน์
สาเหตุและพยาธิสภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์ พบภาวะ ovarian cyst/ tumor โตขึ้น
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด (nursing care among pregnancy with surgery)
การประเมินทางการพยาบาล
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
2.ตรวจร่างกาย
5.ประเมินการหดรีดตัวของมดลูก
1.ซักประวัติ
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
2.การพยาบาลขณะผ่าตัด
2.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
3.ประเมินสุขภาพทารกใรครรภ์ด้วย EFM
1.จัดท่านอนหงายศีรษะสูง กึ่งตะแคง
3.การดูแลหลังผ่าตัด
2.เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
3.ประเมิและบันทึก FHS ด้วยเครื่อง EFM
1.ให้การดูแลเหมือนผู้ป่วยผ่าตัดทั่วไป
4.ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
4.ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์
5.ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
1.งดน้ำงดอาหารทางปาก ฟัง FHS ทุก 1-2 ชม. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
4.การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ให้ความรู้ด้สนการดูแลรับประทานอาหาร ดูแลแผลผ่าตัด การประเมินไข้ และการติดเชื้อ
ให้ความรู้เรื่องยารักษาที่ได้รับ แหล่งสนับสนุนที่มาช่วยเหลือฉุกเฉิน
1.ประเมินผู้ดูแลสตรีตั้งครรภ์ให้มีความรู้ในการปฏิบัติเมื่อต้องกลับไปอยู่บ้าน
การช่วยฟื้นคืนชีพสตรีตั้งครรภ์ (pregnancy resuscitation)
การตอบสนองขั้นต่อมา
2.2การพยาบาลทางสูติศาสตร์
2.3 การเตรียมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
2.1การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกอดภาวะหัวใจหยุดเต้น
1.การตอบสนองขั้นแรก
1.2 บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
1.3 จัดท่านอน supine
1.1 แจ้ง maternal cardiac arrest team
1.4 เริ่มทำการ chest compressions
ภาวะลำไส้อุดกั้น (bowel obstruction)
การวินิจฉัย
1.การตรวจร่างกาย มีอาการปวดเมื่อคลำหน้าท้อง
2.การซักประวัติ เช่น อาการปวดบิดท้องเป็นพักๆ ประวัติท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น WBC, electrolyte, X-ray, MRI
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
อักเสบติดเชื้อ มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด ปัญหาเกี่ยวกับไต ปริมารตเลือดต่ำจากการเสียเลือด ช็อก และเสียชีวิต
ผลต่อทารกตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด คลอดน้ำหนักตัวน้อย ทารกอยู่ในภาวะคับขัน
อาการและอาการแสดง
2.ปวดเกร็งแน่นท้อง
3.อาเจียน
1.ท้องผูก (constipation) ถ่ายยาก ลำบาก ถ่ายไม่ออก
4.ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพักๆ
การรักษา
5.ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทารก ด้วย EFM
6.ให้ออกซิเจน 4 lit/min
4.ให้ยาปฏิชีวนะ
พิจารณาการผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศ
3.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
8.ดูแลภาวะท้องผูก ภายหลังผ่าตัด
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้นได้ในไตรมาสที่สาม
2.ใส่ส่าย Nasogastric tube เพื่อระบาย gastric content
ให้งดอาหารและน้ำ
ติดตามและป้องกัรภาวะลำไส้ตาย ภายหลังการผ่าตัด
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลำไส้จากพังผืด การบิดของลำไส้ การตีบ ก้อนเนื้องอก หรือไส้เลื่อน เกิดจากประวัติการผ่าตัดในช่องท้อง อุ้งเชิงกราน ลำไส้จะบวม มีเศษอาหารแข็งเป็นอุจจาระ มีการอักเสบของลำไส้
การได้รับอุบัติเหตุและบาดเจ็บ (trauma during pregnancy)
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ทารกได้รับบาดเจ็บ ทารกตายในครรภ์ ทารกตายคลอด
3.หากตั้งครรภ์ต่อไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การตกเลือดของมารดา รกลอกตัว ทารกเสียชีวิต
1.เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด
การพยาบาล
Minor trauma การประเมินภาวะต่างๆ
3.Major trauma ช่วยฟื้นคืนชีพ ทีมสูติกรรม ทีมวิสัญญี ทีมดูแลทารกในครรภ์
1.Immediate care คำนึงถึงการรักาาตั้งแต่ประเมิน วินิจฉัย ให้ยา และช่วยฟื้นฟู
ชนิดของการบาดเจ็บที่พบระหว่างตั้งครรภ์
1.อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีตั้งครรภ์ ได้รับบาดเจ็บทางร่างกาย
2.อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์ เช่น เกิดรถชน รถล้ม หกล้มกระแทก บาดเจ็บที่ศีรษะ และช็อกจากการตกเลือด
พยาธิวิทยา
1.การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา ฉีกขาดที่หลอดเลือดดำ
2.การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธ์ุ
ถุงน้ำดีอักเสบ (cholecystitis)
ผลต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC พบ leukocyte เพิ่มขึ้น U/A เพิ่มของ WBC
การตรวจพิเศษอื่นๆ คลื่นเสียงความถี่ พบการขยายของท่อน้ำดีมีการอุดกั้น
1.การตรวจร่างกายพบ coliky sign และปวดบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องเป็นพักๆสลับหนักเบา คลื่นไส้ อาเจียน หลังรับประทานอาหารไขมัน มีไข้ และตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
การรักษา
4.ดูแลให้สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
3.การทำ laparoscopic for cholecystectomy/ cholecystectomy ปลอดภัย ในไตรมาสที่สอง มดลูกมีขนาดไม่ใหญ่มากและไม่เสี่ยงต่อการแท้ง
6.ให้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum
2.ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (antispasmodics)
1.ให้งดอาหารและน้ำ
ให้ยายับยั้งการหดตัวของมดลูก (tocolytic therapy)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
แรงกดเบียดทำให้การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดีไม่ทำให้ muscle tone ความยืดหยุ่นของถุงน้ำดีลดลง ระดับโปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้น ทำให้เกิด hypercholesterolemia เกิดการอุดกั้นถุงน้ำดี เกิดนิ่วในถุงน้ำดี และเกิดภาวะ pancreatitis ตามมา
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (myoma uteri)
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด คลอดยาก ผ่าตัดหน้าท้อง ตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
นำชิ้นเนื้อไปตรวจเพื่อหาพยาธืสภาพเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
หากก้อนไม่ใหญ่ ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อจะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
1.การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์
การวินิจฉัย
2.การซักประวัติ ทางนรีเวช มีเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการปวดท้อง
3.การตรวจพิเศษ คลื่นเสียงความถี่ MRI
1.การตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
มักทราบก่อนตั้งครรภ์ ไม่แสดงอาการ ปวดท้องสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น อาจพบเลือดออกขณะตั้งครรภ์ มดลูกโต คลำทารกได้ยาก